ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Environmental Design and Planning) Polytechnic Institute and State University (Virginia Tech), U.S.A. 2548
ปริญญาโท MURP (Urban and Regional Planning) Virginia Polytechnic Institute and State University (Virginia Tech), U.S.A 2542
ปริญญาโท สส.ม. (สวัสดิการแรงงาน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2538
ปริญญาตรี ศศ.บ (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2534

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2559). การจัดการวิสาหกิจชุมชน (Management of Community Enterprise). (พิมพ์ครั้งที่ 1). ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2557). มหัศจรรย์ไหม: จากท้องถิ่นสู่สากล. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
3. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล.วิภาวี กฤษณะภูติ (บรรณาธิการ). (2557). คู่มือภาษาเวียตนาม. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
4. สุธิดา โง่นคำ. วิภาวี กฤษณะภูติ (บรรณาธิการ). (2557). คู่มือภาษาอังกฤษ. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
5. อรอนงค์ อินสะอาด. วิภาวี กฤษณะภูติ (บรรณาธิการ). (2557). คู่มือภาษาจีน. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
6. Grisanaputi, Wipawee. (2014). Miracle of Silk: From Local to Global. KhonKaen: KhonKaen Provincial Community Development Provincial Office.
7. Grisanaputi, Wipawee. (2014). Miracle of Silk: From Local to Global. (In Chinese) KhonKaen: KhonKaen Provincial Community Development Provincial Office.

3.2 งานวิจัย    
1. วิภาวี กฤษณะภูติ วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนาและสุรศักดิ์ แหล่งหล้า. (2558). แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดขอนแก่นสู่ความยั่งยืน. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น . (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและมหาวิทยาลัยขอนแก่น).
2. กิตติศักดิ์ ปลาทองและวิภาวี กฤษณะภูติ. (2556). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการชุมชนในภาวะวิกฤติ: เรียนรู้จากชุมชนเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพมหานคร: สำนักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกล้า. (ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกล้า)).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. อุทุมพร หลอดโค และวิภาวี กฤษณะภูติ. (2566). “การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในกระบวนการผลิตผ้าทอย้อมครามในจังหวัดสกลนคร.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 40 (3). หน้า 56-79.
2. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2564). “การจัดการหมู่บ้านท่องเที่ยวโอทอปนวัตวิถีในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11 (2). หน้า 53-73.
3. อารยา ญาณพิบูลย์, วิภาวี กฤษณะภูติ. (2563). “การจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปปลาในจังหวัดหนองบัวลำภู.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10 (1). หน้า 184-106.
4. วิภาวี กฤษณะภูติ, สมใจ ศรีหล้า. (2563). “ห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงจิ้งหรีดเชิงพาณิชย์ของเกษตรกรในจังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 37 (2). หน้า 97-119.
5. อมรา ไชยมุนตรี, วิภาวี กฤษณะภูติ. (2561). “แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษา วัดในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (3). หน้า 176-197.
6. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2561). “สภาพการพัฒนาหมู่บ้านสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (2). หน้า 117-141.
7. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2561). “สภาพการพัฒนาหมู่บ้านสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (2). หน้า 117-141.
8. จิตติพัฒน์ จำเริญเจือและวิภาวี กฤษณะภูติ. (2558). “แนวทางการพัฒนาการจัดการศูนย์ส่งเสริมและผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัดกาฬสินธุ์สู่ความยั่งยืน.” วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2 (2). หน้า 129.
9. วิภาวี กฤษณะภูติ และกิตติศักดิ์ ปลาทอง. (2558). “การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการชุมชนในภาวะมหาอุทกภัยปี 2554 : เรียนรู้ความสำเร็จจากชุมชนเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 30 (2). หน้า 65-88.
10. จุฬากาญจน์ มุ่งพุทธรักษาและวิภาวี กฤษณะภูติ. (2557). “การประยุกต์ใช้แนวคิดการตลาดสีเขียว: กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหมบ้านอูบมุงเหนือ.” วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 3 (2). หน้า 143-170.
11. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2556). “การจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน: เรียนรู้จากกลุ่มอาชีพทอผ้าไหมและทอผ้าฝ้ายในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารคณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30 (1). หน้า 165-188.
12. วิภาวี กฤษณะภูติและกิตติศักดิ์ ปลาทอง. (2556). “การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการชุมชนในภาวะมหาอุทกภัยปี 2554.” วารสารคณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30 (2). หน้า 65-88.
13. จิตติพัฒน์ จำเริญเจือและวิภาวี กฤษณะภูติ. (2556). “แนวทางการพัฒนาการจัดการศูนย์ส่งเสริมและผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัดกาฬสินธุ์สู่ความยั่งยืน.” วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2 (2). หน้า 129-150.
14. กิตติศักดิ์ ปลาทอง วิภาวี กฤษณะภูติ วิไลวัจส์ กฤษณะภูติ และสุรศักดิ์ แหล่งหล้า. (2555). “การจัดการความขัดแย้งของชุมชนตลาดพาหุรัด กรุงเทพมหานคร.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 29 (3). หน้า 41-80.
15. ศุภชัย ศรีประเสริฐ และวิภาวี กฤษณะภูติ. (2552). “แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตำบลสิงห์โคก ในการจัดทำแผนชุมชน.” ความหลากหลายทางวัฒนธรรม, 6 (15). หน้า 224-240.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Lordko, U. & Grisanaputi, W. (2023). "Models for Improving the Management of Indigo Weaving Groups under the Concept of Social Enterprise". Journal of Mekong Societies, 19 (1). Page 68 - 85.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2564). อัตลักษณ์กลุ่มทอผ้าไหมราชพฤกษ์ จังหวัดขอนแก่น: การเปลี่ยน และการประกอบสร้างความหมาย. ในสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 20 ประจำปี 2564, จัดโดย- เมื่อวันที่433-446.
2. KHAMKEO MAHAXAY และวิภาวี กฤษณะภูติ. (2557). การคุ้มครองแรงงานหญิงภาคอุตสาหกรรมตัดเย็บในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณะรัฐประชาธิประไตยประชาชนลาว. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2557 "ท้องถิ่นอีสาน ในบริบทอาเซียน", จัดโดยโรงแรมริมปาว เมื่อวันที่19 สิงหาคม 2557.
3. จักรภพ ดุลศิริชัย และวิภาวี กฤษณะภูติ. (2556). การจัดสวัสดิการสังคมสำหรับคนพิการในจังหวัดขอนแก่น: กรณีศึกษา บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น. ในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 14 , จัดโดยวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่26 กุมภาพันธ์ 2556.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. วิภาวดี กัลยาและวิภาวี กฤษณะภูติ. (2558). แนวทางการพัฒนาการบริหารสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนในจังหวัดขอนแก่น Means to Improve the Management of Local Financial Institutions in KhonKaen Province. In 11th International Conference on Humanities and Social Sciences (IC-HUSO) 2015, During 26-27 พฤศจิกายน 2558. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, .
2. วิภาวี กฤษณะภูติ. (2021). Utilizing cultural capital to create the identity of the silk weaving group. In Proceedings of 16th International Conference on Humanities and Social Sciences 2021 (IC-HUSO 2021). 435-443, During 2021. -, -.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     30     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรพัฒนศาสตร์ดุษฎีบัณทิต)
400 991 SEMINAR ON CURRENT ISSUES IN POLITICAL, ECONOMIC AND SOCIAL CULTURAL DEVELOPMENT
400 712 RESEARCH METHODOLOGY IN DEVELOPMENT SCIENCE
400 997 DISSERTATION
HS 492 991 SEMINAR ON CURRENT ISSUES OF DEVELOPMENT
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรพัฒนศาสตร์มหาบัณฑิต)
900 897 INDEPENDENT STUDY
420 712 GLOBALIZATION AND SOCIO-ECONOMIC CHANGE OF THAILAND
420 752 PSYCHOLOGICAL SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL ASPECTS OF DEVELOPMENT
420 898 THESIS
       5.3 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรพัฒนศาสตร์บัณฑิต)
420 250 SOCIAL WELFARE
420 252 LABOR WELFARE AND MANAGEMENT
420 325 MANAGEMENT OF COMMUNITY ENTERPRISES
420 360 WOMEN AND POLITICS
420 495 COOPERATIVE EDUCATION IN SOCIAL DEVELOPMENT MANAGEMENT
       5.4 ระดับปริญญาตรี (วิชาศึกษาทั่วไป)
000 151 GLOBALIZATION STUDIES

6. ความเชียวชาญ : วิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคม ผู้ประกอบการสังคม

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น