ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) (โท-เอก) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2555
ปริญญาตรี วท.บ. (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย 2547

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ศุภกิต บัวขาว. (2562). ตำราวิชา 416 313 ภาษาไทยถิ่น (Thai Dialects). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, ศุภกิต บัวขาว และอัมพิการัตนพิทักษ์. (2558). รายงานการวิจัยภาษาถิ่นของภาษาปะหล่องในประเทศจีน พม่า และไทย : ระบบเสียง คำศัพท์ และการจัดแบ่งกลุ่ม. ขอนแก่น: . (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย).
2. สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, ศุภกิต บัวขาว และอัมพิกา รัตนพิทักษ์. (2555). รายงานการวิจัยการศึกษาเบื้องต้นภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ของชาวปะหล่องในเชียงตุงประเทศพม่าและในยูนนานประเทศจีน. : . (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย).
3. Deepadung, Sujaritlak, Buakaw, Supakit & Rattanapitak, Ampika. (2015). A lexical comparison of the Palaung dialects spoken in China, Myanmar, and Thailand . : . (Mon-Khmer Studies 44. 19-38).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. จารญา อนันตะวัน และศุภกิต บัวขาว. (2565). “การศึกษาภูมิทัศน์ภาษาศาสตร์ของตลาดท่าเสด็จ จังหวัดหนองคาย.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 13 (1). หน้า 101-134.
2. พร้อมสิริ นามมุงคุณ, ศุภกิต บัวขาว. (2563). “ระบบวรรณยุกต์ภาษาไทยถิ่นอีสาน อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 8 (1). หน้า 102-111.
3. รัชนีฉาย เฉยรอด, ศุภกิต บัวขาว. (2561). “การแปรการใช้ศัพท์ในภาษาไทยพวนอำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9 (1). หน้า 350-360.
4. ศุภกิต บัวขาว. (2561). “การแปรของวรรณยุกต์ภาษาเลย อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (2). หน้า 304-330.
5. ศิริชัย หอมดวง, ศุภกิต บัวขาว. (2559). “การแปรของเสียงพยัญชนะในภาษาไทยพวน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี.” วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5 (1). หน้า 122-137.
6. ธันยธรณ์ อ่อนศรีไพร และศุภกิต บัวขาว. (2558). “การแปลของวรรณยุกต์ภาษาเลยใน 6 อําเภอ : วังสะพุง ภูกระดึง ภูหลวง เอราวัณ ผาขาว และหนองหิน.” วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 (2). หน้า 80-99.
7. S. Deepadung & S. Buakaw. (2558). “ระบบเสียงและการจัดแบ่งกลุ่มภาษาปะหล่องเราคตในยูนนาน.” วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 34 (2). หน้า 53-69.
8. S. Buakaw. (2553). “การศึกษาทรัพยากรตัวบทในเรื่องสั้นภาษาไทย.” วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 29 (1). หน้า 97-118.
9. S. Buakaw. (2552). “The Phonetic Realization of Denasalized Final Nasal Consonants in No Lae Palaung.” วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 28 (1). หน้า 31-46.
10. S. Deepadung, S. Buakaw & A. Rattanapitak. (2015). “A Lexical Comparison of the Palaung Dialects Spoken in China, Myanmar, and Thailand.” Mon-Khmer Studies: A Journal of Southeast Asian Languages and Cultures, 44 (-). หน้า 19-38.
11. Buakaw, Supakit. (2014). “ Vowel length in Da-ang dialect of Palaung spoken in Shan State.” Myanmar. Dialectologia , 12 (1). หน้า 1-22.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Buakaw, S., Rattanapitak, A. & Deepadung, S. (2018). "Katiang Palaung of Hsipaw : Phonology and Classification". Dialectologia. 21, 1 (16). Page 0.
2. Deepadung, Sujaritlak, Rattanapitak, Ampika & Buakaw, Supakit. (2015). " Dara-ang Palaung. In M. Jenny & P. Sidwell (Eds.). ". The Handbook of Austroasiatic Languages, 0 ( ). Page 1065-1103.
3. Buakaw Supakit. (2014). "Vowel length in Da-Ang dialect of Palaung : Spoken in Shan state, Myanmar". Dialectologia, 2557 (Issue 12). Page Pages 1 - 22.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Kuibut, Worapong & Buakaw, Supakit. (2019). The Isan-ness and linguistic strategies in The Isaan Record online news. In In proceeding of Asia-Pacific Social Science Conference, During December 17-19, 2019. -, Kyoto Research Park, Kyoto, Japan.
2. Pradabsri, Duangruethai & Buakaw, Supakit. (2019). A tonal system of Northern Thai dialect of Suwannakhuha District, Nong Bua Lam Phu Province. In In proceeding of International Conference on Language, Education, Humanities and Innovation, During April 5-6, 2019. -, Osaka, Japan.
3. Buakaw, Supakit & Pankaew, Nuengruthai. (2018). Linguistic landscape of Luang Prabang : A preliminary study. In In proceeding of International Symposium on Economics and Social Science – Summer Session, During July 30 – August 1, 2018. -, Waseda University, Tokyo, Japan.
4. Buakaw, Supakit. (2015). The tonal systems and phonetic characteristics of tones in Chiang Khan Loei. In Paper presented at Annual Symposium on Management and Social Sciences, During August 25-27, 2015. Osaka International House Foundation, Osaka, Japan.
5. Buakaw, Supakit & Toophom, Suttipol. (2014). A tonal study of Chiang Khan Phuan. In Paper presented at the 8th Malaysia International Conference on Languages, Literature & Cultures, During August 12-14, 2014. Rainbow Paradise Beach Resort, Penang, Malaysia.
6. Buakaw, Supakit. (2014). Thematic systems of expository discourse “Phra Ratcha Phithi Phuetcha Mongkhon Charot PhraNangkhan” King Rama V’ Twelve-Month Ceremony. In Paper presented at Tokyo International Conference on Social Sciences, During December 17-19, 2014.. Toshi Center Hotel, Tokyo, Japan.
7. Buakaw, Supakit. (2013). A phonological sketch of Katiang. In Paper presented at the 5th International Conference on Austroasiatic Linguistics, During September 4-5, 2013. Australian National University, Canberra, Australia.
8. Buakaw, Supakit.. (2012). Raokot, a dialect of Palaung of Yunnan: Its phonology and genetic classification. In Paper to be presented at the 45thInternational Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics, During October 25-28, 2012. Nanyang Technological University, Singapore.
9. Buakaw, Supakit. (2011). Vowel length in Da-ang dialect of Palaung. In Paper presented , During April 1-2, 2011. RGJ-Ph.D. Congress XII, Jomtien Palm Beach Resort, Pattaya, Chonburi.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     11     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณทิต สาขาภาษาไทย)
416 713 ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
416 711 ทฤษฎีทางภาษา
416 891 สัมมนาทางภาษาและวรรณกรรมไทย
       5.2 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณทิต สาขาภาษาไทย)
416 413 วัจนปฏิบัติศาสตร์ขั้นแนะนำ
416 211 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 1
416 212 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 2
416 315 ภาษาไทยถิ่น
416 490 สัมมนาทางภาษาและวรรณกรรม

6. ความเชียวชาญ : ภาษาศาสตร์ ภาษาไทยถิ่น วิทยาภาษาถิ่น สัทศาสตร์และสัทวิทยา

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น