ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก D.A. (Library and Information Science) Simmons College, USA 2538
ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (บรรณารักษศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2525
ปริญญาตรี อักษรศาสตรบัณฑิต (บรรณารักษศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2522

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. Tuamsuk, K., Jatowt, A. & Rasmussen, E., editors. (2014). The emergence of digital libraries: Research and Practices. Chiang Mai: -.
2. Loipha, S.; Tuamsuk, K; et.al. (2002). Strategic Human Resource Management for Thai Universities: A Guide for Senior Managers. Bangkok: The Strategic University Management Project, Ministry of University Affairs.
3. Fang, JR; Stueart, RD and Tuamsuk, K, eds. (1995). World Guide to Library, Archive and Information Science Education. ขอนแก่น: กลุ่มวิจัยมนุษยศาสตร์ดิจิทัล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. กุลธิดา ท้วมสุข. (2565). “SMART TEACHING PRACTICES OF JUNIOR HIGH SCHOOL TEACHERS UNDER THE KKU SMART LEARNING PROJECT การสอนแบบสมาร์ตของครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในโครงการนวัตกรรมการเรียนรู้แบบสมาร์ตของมหาวิทยาลัยขอนแก่น.” RRU Community Research Journal, 0 (3). หน้า ().
2. ธีรเดช มานะกุล อนุชา โสมาบุตร และกุลธิดา ท้วมสุข. (2565). “การสอนแบบสมาร์ตของครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโครงการนวัตกรรมการเรียนรู้แบบสมาร์ตของมหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 1 (3). หน้า 152-166.
3. จันทร์จิรา เหลาราช และกุลธิดา ท้วมสุข. (2565). “กลยุทธ์ องค์ประกอบและกระบวนการปรับเปลี่ยนสู่องค์กรดิจิทัลของมหาวิทยาลัยไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 42 (3). หน้า 67-82.
4. กุลธิดา ท้วมสุข. (2564). “ DIGITAL LITERACY SKILLS OF JUNIOR HIGH SCHOOL TEACHERS IN NORTH-EASTERN THAILAND.” INTED2020 Proceedings, 0 (0). หน้า 5369.
5. กุลธิดา ท้วมสุข. (2564). “เชาวน์ปัญญาดิจิทัลสาหรับการสอนในสภาพแวดล้อมดิจิทัล.” TLA Research Journal, 14 (14). หน้า 81-97.
6. กุลธิดา ท้วมสุข. (2564). “การวิเคราะห์ข้อมูลกะโหลกมนุษย์โดยใช้หลักการวิเคราะห์วัตถุสารสนเทศ.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 41 (5). หน้า 12-29.
7. สมเพ็ชร จุลลาบุดดี และกุลธิดา ท้วมสุข. (2564). “ระบบค้นคืนเชิงความหมายสำหรับข้อมูลวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 39 (3). หน้า 43-61.
8. กุลธิดา ท้วมสุข และจิรชาติ บุญสุข. (2564). “การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่สำหรับการกำหนดกลยุทธ์เพื่ออนาคตของธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มในประเทศไทย.” Journal of Information and Learning, 32 (2). หน้า 1-14.
9. พรินทร์ เมืองสนาม และกุลธิดา ท้วมสุข. (2564). “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการรายงานผลการประเมินตนเองระดับหลักสูตร.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 39 (1). หน้า 20-37.
10. สมพงษ์ วะทันติ, วิระพงศ์ จันทร์สนาม, และกุลธิดา ท้วมสุข. (2563). “การพัฒนาออนโทโลยีความรู้เกี่ยวกับประเพณีฮีตสิบสอง.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 38 (2). หน้า 53-69.
11. เอกชัย แซ่จึง, และกุลธิดา ท้วมสุข. (2563). “การออกแบบระบบเว็บแบบสื่อความหมายสำหรับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 38 (3). หน้า 65-87.
12. บุษกร จันท์เทวนุมาส และกุลธิดา ท้วมสุข. (2562). “การศึกษาตัวบ่งชี้ความเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น.” วารสารวิจัยราชภัฎพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14 (2). หน้า 183-202.
13. ลัดดาพร กุลแก้ว, และ กุลธิดา ท้วมสุข. (2561). “การวิเคราะห์องค์ประกอบของชุดข้อมูลพื้นฐานด้านอุบัติเหตุทางถนน.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 36 (2). หน้า 19-35.
14. จินตนา โต้งสูงเนิน และกุลธิดา ท้วมสุข. (2560). “ความสัมพันธ์ของการจัดการความรู้ในกระบวนการสร้างแบรนด์องค์กร.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 10 (1). หน้า 16-32.
15. จุฑาทิพย์ ไชยกำบัง และกุลธิดา ท้วมสุข. (2560). “การพัฒนาออนโทโลยีเชิงความหมายของความรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 10 (2). หน้า 1-15.
16. จิตรลดา เพลิดพริ้ง และกุลธิดา ท้วมสุข. (2560). “การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการจัดการความรู้ในกระบวนการจัดการวิสาหกิจชุมชน.” อินฟอร์เมชั่น, 24 (1). หน้า 7-18.
17. พิชญะภาคย์ พิพิธพัฒน์ไพสิฐ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2559). “พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ในการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 9 (1). หน้า 1-22.
18. อภิศักดิ์ พัฒนจักร และกุลธิดา ท้วมสุข. (2559). “ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดนโยบายการพัฒนาจังหวัดสู่การเป็นนครไอซีที.” อินฟอร์เมชั่น, 23 (2). หน้า 48-63.
19. จิระพงษ์ พนาวงศ์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2559). “การจัดระบบความรู้การวิจัยเพื่อการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34 (1). หน้า 26-53.
20. กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ กันยารัตน์ เควียเซ่น และกุลธิดา ท้วมสุข. (2559). “การบูรณาการการรู้สารสนเทศในการเรียนการสอน กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมในระดับประถมศึกษา.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34 (1). หน้า 122-147.
21. จิระพงษ์ พนาวงศ์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2559). “การพัฒนาระบบฐานความรู้การให้คำแนะนำการวิจัยเพื่อการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารสนเทศศาสตร์, 34 (1). หน้า 26 – 53.
22. พิชญะภาคย์ พิพิธพัฒน์ไพสิฐ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2559). “พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ในการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 9 (1). หน้า 1-23.
23. รภัสสิทธิ์ ชินภัทรจีรัสถ์ และกุลธิดา ท้วมสุข.. (2559). “การวิเคราะห์และจัดหมวดหมู่สารสนเทศเพื่อการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวระดับจังหวัด.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34 (2). หน้า 50-74.
24. ปัทมากร เนตยวิจิตร, กุลธิดา ท้วมสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2558). “องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลในการพัฒนานโยบายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสำหรับคนพิการของประเทศไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 33 (1). หน้า 52-88.
25. ปัทมากร เนตยวิจิตร กุลธิกา ท้วมสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2558). “พฤติกรรมสารสนเทศและการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของคนพิการ.” อินฟอร์เมชั่น, 22 (2). หน้า 50-60.
26. ปัญญา จันทโคต และกุลธิดา ท้วมสุข. (2558). “การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ชุมชนในประเทศไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 33 (2). หน้า 92-107.
27. ปัญญา จันทโคต และกุลธิดา ท้วมสุข. (2558). “ปัจจัยที่สนับสนุนความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ชุมชนในประเทศไทย.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 8 (1). หน้า 42-53.
28. กานดา ศรีอินทร์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2558). “สภาพและปัญหาในการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย.” อินฟอร์เมชั่น, 22 (2). หน้า 1-21.
29. กานดา ศรอินทร์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2558). “ความต้องการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แบบเน้นพลเมืองเป็นศูนย์กลาง.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 33 (3). หน้า 1-29.
30. ปรัชญา อารีกุล กุลธิดา ท้วมสุข และวนิดา แก่นอากาศ. (2556). “การวิเคราะห์และออกแบบระบบผู้เชี่ยวชาญข่าวกรองทางการทหารของกองทัพบกไทย.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 6 (1). หน้า 14-24.
31. กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ กันยารัตน์ เควียเซ่น และกุลธิดา ท้วมสุข. (2556). “องค์ประกอบและปัจจัยที่ส่งเสริมการบูรณาการการสอนการรู้สารสนเทศ โดยใช้สภาพแวดล้อมทางการเรียนเสมือนจริง.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 6 (1). หน้า 53-70.
32. พรชนิตว์ ลีนาราช และกุลธิดา ท้วมสุข. (2555). “สภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดบริการสนับสนุนการวิจัยของห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 30 (3). หน้า 1-28.
33. วิชญวัชญ์ เชาวนีรนาท กุลธิดา ท้วมสุข และชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2555). “ตัวแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของการจัดการความรู้โดยนัยขององค์กรธุรกิจที่มีแนวปฏิบัติที่ดีในด้านการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 12 (1). หน้า 125-141.
34. กุลธิดา ท้วมสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2555). “ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตของกลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยขอนแก่นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 30 (2). หน้า 1-24.
35. วัชรี เพ็ชรวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2555). “พฤติกรรมการใช้สารสนเทศในการทำวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 30 (3). หน้า 29-50.
36. ศักดา จันทร์ประเสริฐ กุลธิดา ท้วมสุข และเด่นพงษ์ สุดภักดี. (2554). “สื่อการสอนรายวิชาต้นแบบระบบ e-Learning เพื่อพัฒนาสมรรถนะการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29 (2). หน้า 9-27.
37. ปิยสุดา ตันเลิศ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2554). “บทบาทของห้องสมุดและนักวิชาชีพสารสนเทศสำหรับห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาไทย พ.ศ.2553-2562.” วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 17 (4). หน้า 607-623.
38. รุ่งโรจน์ พงศ์กิจวิทูร วนิดา แก่นอากาศ กุลธิดา ท้วมสุข และโยธี ทองเป็นใหญ่. (2554). “ระบบจัดการสารสนเทศทางการแพทย์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการวินิจฉัยรักษาผู้ป่วยตามกระบวนการเวชปฏิบัติเชิงประจักษ์โดยใช้เทคนิคเว็บอัจฉริยะ.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 11 (2). หน้า 103-110.
39. วัชรี เพ็ชรวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2554). “การวิเคราะห์เปรียบเทียบคลังสารสนเทสสถาบันของมหาวิทยาลัยไทยและต่างประเทศ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29 (3). หน้า 53-64.
40. ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์ กุลธิดา ท้วมสุข และชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2554). “ประสบการณ์ลูกค้าของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 4 (1). หน้า 23-38.
41. บรรจง เขื่อนแก้ว กุลธิดา ท้วมสุข และดุษฎี อายุวัฒน์. (2553). “การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถาบันอุดมศึกษาไทย.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 10 (2). หน้า 49-59.
42. จุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์ สมาน ลอยฟ้า กุลธิดา ท้วมสุข ชมนาด บุญอารีย์ และขนิษฐา จิตแสง. (2553). “การประเมินความพึงพอใจและความคาดหวังของผู้ใช้บัณฑิตสาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2545-2548.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 28 (2). หน้า 1-16.
43. ธงชัย พาบุ กุลธิดา ท้วมสุข ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ และบุญชม ศรีสะอาด. (2553). “การจัดการความรู้ของธุรกิจสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพทอผ้าไหมมัดหมี่ ศูนย์หัตถกรรมพื้นบ้านอำเภอนาโพธิ์.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 3 (1). หน้า 52-67.
44. ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์ กุลธิดา ท้วมสุข และชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2553). “สภาพการบริหารและการดำเนินงานตามแนวคิดการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 3 (2). หน้า 58-73.
45. กุลธิดา ท้วมสุข. (2552). “บทวิจารณ์หนังสือ : Book Review Content Management Systems : Case Studies and the Future. 2008 Edited by Bradford Lee Eden.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 2 (1). หน้า 93-94.
46. ชลดา พ้นภัย และกุลธิดา ท้วมสุข. (2552). “การวิเคราะห์เนื้อหาบทความวิจัยในวารสารวิจัยต่างประเทศสาขาบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 2 (2). หน้า 63-74.
47. จุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์ กุลธิดา ท้วมสุข ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ และจิราพร เขียวอยู่. (2552). “การพัฒนาตัวแบบกลยุทธ์การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 2 (1). หน้า 13-32.
48. กันยารัตน์ ดัดพันธ์ เชาวเลิศ เลิศขโลฬาร และกุลธิดา ท้วมสุข. (2552). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบโครงงานในสภาพแวดล้อมห้องเรียนเสมือนสำหรับการสอนรายวิชาการรู้สารสนเทศระดับอุดมศึกษา.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 2 (1). หน้า 32-92.
49. สมาภรณ์ แม่นมาตย์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2551). “การจัดการสารสนเทศผู้สูงอายุของหน่วยงานในระดับจังหวัด.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 1 (2). หน้า 1-18.
50. ปารมี ลางคุลานนท์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2551). “การบริการสารสนเทศในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 1 (2). หน้า 48-59.
51. กันยารัตน์ ดัดพันธ์ เชาวลิต เลิศชโลฬาร และกุลธิดา ท้วมสุข. (2550). “การออกแบบสภาพแวดล้อมในห้องเรียนเสมือนสำหรับการเรียนแบบโครงงานในระดับอุดมศึกษา.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข., 25 (1-3). หน้า 1-14.
52. กุลธิดา ท้วมสุข จุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์ ทิพย์วัลย์ ตุลยะสุข และกันยารัตน์ ดัดพันธ์. (2548). “บทบาทของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน.” วารสารห้องสมุด, 49 (4). หน้า 16-34.
53. จารุณี สุปินะเจริญ กุลธิดา ท้วมสุข และมาลี กาบมาลา. (2546). “การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพของห้องสมุดสถาบันราชภัฏ.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข., 21 (1). หน้า 50-69.
54. อนัญญา ทิมเกตุ กุลธิดา ท้วมสุข มาลี กาบมาลา. (2546). “การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข., 21 (1). หน้า 70-87.
55. สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2545). “ภาพสะท้อนจากเพลงกล่อมเด็กอีสาน.” วารสารวิจัย มข., 7 (1). หน้า 78-85.
56. ทัศนีย์ สุตาจันทร์ ภรณี ศิริโชติ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2545). “การศึกษาเปรียบเทียบ Search Engines บนอินเทอร์เน็ต.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข., 20 (2). หน้า 73-80.
57. กุลธิดา ท้วมสุข. (2545). “ความต้องการการพัฒนากำลังคนในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ระดับปริญญาเอกในประเทศไทย.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข., 20 (3). หน้า 12-22.
58. มณฑาทิพย์ สุระเสียง และกุลธิดา ท้วมสุข. (2545). “การวิเคราะห์หลักสูตรปริญญาโทสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศในประเทศไทย.” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข., 20 (2). หน้า 15-31.
59. Nguyen, T. L, & Tuamsuk, K. (2020). “Factors influencing the faculty-librarian collaboration at the Vietnamese universities.” The Journal of Academic Librarianship, 46 (2). หน้า 1-9.
60. Jareonruen, Y. & Tuamsuk, K. (2019). “Lifecycle and requirements for digital collection management of Thai theses and dissertations.” Journal of Information Science Theory and Practice, 7 (3). หน้า 52-64.
61. Yu, T., Chen, C., Khoo, C., Butdisuwan, S., Ma, L., Sacchanand, C., & Tuamsuk, K. (2019). “Faculty-librarian collaborative culture in the universities of Hong Kong, Singapore, Taiwan, and Thailand: A comparative study.” Malaysian Journal of Library & Information Science, 24 (1). หน้า 97-121.
62. Chaikumbung, C, & Tuamsuk, K. (2017). “Knowledge Classification on Ethnic Groups in Thailand.” Cataloging & Classification Quarterly, 55 (2). หน้า 89-104.
63. Ziegler, A.D., Echaubard, P., Lee, Y.T., Tungtang, P., Tuamsuk, K.*. (2016). “Document Untangling the Complexity of Liver Fluke Infection and Cholangiocarcinoma in NE Thailand Through Transdisciplinary Learning.” Source of the Document EcoHealth , 13 (2). หน้า 316-327.
64. Tuamsuk, K*., Kaewboonma, N., Chansanam, W., Leopenwong, S. (2016). “Document Taxonomy of folktales from the greater mekong sub-region.” Knowledge Organization , 43 (6). หน้า 431-439.
65. Sorn-in, K., Tuamsuk, K*, & Chaopanon , W. (2015). “Factors affecting the development of e-government using a citizen-centric approach.” Journal of Science & Technology Policy Management, 6 (3). หน้า 206-222.
66. Kingsawat, K., Kwiecien, K., & Tuamsuk, K*. (2015). “Components and factors in integrating information literacy instruction in elementary education using a virtual learning environment.” LIBRES, 25 (1). หน้า 50-77.
67. Tuamsuk, K. Digital humanities research at Khon Kaen University, Thailand. (2015). “-.” Lecture Notes in Computer Science, 9469 (0). หน้า 334-335.
68. Chansanam, W., Tuamsuk, K.*, Kiewcien, K., Ruangrajitpakorn, T., & Supnithi, T. (2015). “Semantic knowledge retrieval for belief culture.” Lecture Notes in Computer Sciences, 9469 (0). หน้า 294-295.
69. Chansanam, W. & Tuamsuk, K.* Development of imaginary beings knowledge structure. (2015). “Development of imaginary beings knowledge structure.” Lecture Notes in Computer Sciences, 9469 (0). หน้า 291-293.
70. Panawong, J. & Tuamsuk, K. (2015). “Recommender knowledge-based system for research on the development of northeastern Thailand.” Lecture Notes in Computer Sciences, 9469 (0). หน้า 314-315.
71. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Kiewcien, K., Ruangrajitpakorn, T., & Supnithi, T. (2015). “Development of the belief culture ontology and its applications: Case study of the Greater Mekong Subregion.” Lecture Notes in Comuputer Sciences, 8973 (0). หน้า 297-310.
72. Kaewboonma, N., Tuamsuk, K.* & Buranarach, M. (2014). “). An Ontology Modeling for Drought Management Information System.” LIBRES., 24 (1). หน้า 21-33.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Wirapong Chansanam, Kulthida Tuamsuk, Kanyarat Kwiecien, Sam Oh. (2021). "Korean popular culture analytics in social media streaming: evidence from youtube channels in Thailand". International Journal of Advances in Intelligent Informatics, 7 (3). Page 329 - 344.
2. Theeradej Manakula, Thi Lan Nguyenb and Kulthida Tuamsuka. (2021). "Digital Intelligence among Countries of the Greater Mekong Subregion". Journal of Mekong Societies, 17 (3). Page 1 - 20.
3. Thi Lan Nguyen, Kulthida Tuamsuk. (2021). "Faculty–librarian administrative structure and collaborative activities supporting teaching and research at Vietnamese universities: A qualitative study". IFLA Journal, 47 (2). Page 236 - 249.
4. Quang Ngoc Le, Kulthida Tuamsuk. (2021). "Knowledge and Technology Resources for Knowledge Management Practices of Nonprofit Organizations in Thailand". Journal of Information Science Theory and Practice, 9 (3). Page 42 - 55.
5. Quang Ngoc Le, Kulthida Tuamsuk. (2021). "Motivational factors promoting knowledge sharing in the non-profit sector in Thailand". Information Development, 2021 (0). Page 1.
6. Sompejch Junlabuddee and Kulthida Tuamsuk. (2021). "Analysis of research data in information science using the topic modeling method". Journal of Mekong Societies, 17 (1). Page 89 - 109.
7. Kittiya Suthiprapa and Kulthida Tuamsuk. (2021). "Users’ experiences of reference services in Thai academic libraries". IFLA Journal (International Federation of Library Associations and Institutions), 0 (0). Page 1-19.
8. Kwiecien, K., Chansanam, W., Supnithi, T., Chitiyaphol, J. & Tuamsuk, K. (2021). "Metadata schema for folktales in the Mekong River Basin". Informatics, 8 (4). Page 82.
9. Yosakonkun, S., Tuamsun, P., Chansanam, W. & Tuamsuk, K. (2021). "Metadata schema for managing digital data and images of Thai human skulls". Data, 6 (11). Page 114.
10. Chansanam, W., Kwiecien, K., Buranarach, M. & Tuamsuk, K. (2021). "A digital thesaurus of ethnic groups in the Mekong River Basin". Informatics, 8 (3). Page 50.
11. Chansanam, W, Tuamsuk, K., Poonpon, K., & Ngootip, T. (2021). "Development of online learning platform for thai university students". International Journal of Information and Education Technology, 11 (8). Page 348-355.
12. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Kwiecien, K., Sutthiprapa, K., Supnithi, T. (2021). "Thai tattoo wisdom’s representation of knowledge by ontology". Informatics, 8 (1). Page 3.
13. Chansanam, W., Kwiecien, K., Chaikhambung, J., Tuamsuk, K. (2021). "Development of Smart Library System for Thailand's Primary School Teachers". Review of International Geographical Education Online, 11 (5). Page 4257-4275.
14. Kaewboonma, N., Tuamsuk, K.*, Kan-arkard, W. (2014). "Ontology development for drought management information". International Journal of metadata, Semantic and Onltologies, 9 (4). Page 324-332.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. Tuamsuk, K. . (2015). ASEAN aspirations: Roles of libraries for sustainable development. ในCONSAL XVI: The 16th Congress of Southeast Asian Librarians, จัดโดยBangkok เมื่อวันที่10-13 June 2015.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Saengkaew, C., Tuamsuk, K*., Talumassawatdi, R. (2016). Document integrating remote sensing resources for developing an effective forecasting model in the royal rainmaking operation in upper northern provinces of Thailand. In Proceedings of 2015 4th International Conference on Computer Science and Network Technology, During 2015. -, -.
2. Tuamsuk, K., Kaewboonma, N., Chansanam, W., & Leopenwong, S. (2014). Knowledge Organization of Folklores on Greater Mekong Sub-region. In . Proceedings of ICKM2014 - The 10th International Conference on Knowledge Management, During 24-26 November. Antalya, Turkey.
3. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Kiewcien, K., Ruangrajitpakorn, T., & Supnithi, T. (2014). Development of the belief culture ontology and its applications: Case study of the Greater Mekong Subregion. In Semantic Technology, During November 9-11, 2014. The 4th Joint International Conference, Chiang Mai, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     45     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา)
HS 287 714 Advanced Theories for Information Studies
HS 287 992 Special Topics in Information System and Technology
HS 287 996 Dissertation
HS 287 998 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์)
HS 248 891 Research and Seminar in Information Science
HS 267 711 Digital Transformation
HS 267 717 Digital Humanities
HS 267 891 Research and Seminar for Information Science
HS 267 896 Thesis
HS 267 898 Thesis

6. ความเชียวชาญ : สารสนเทศศาสตร์

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น