ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรด.(รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2562
ปริญญาโท M.Phil.(Development Administration) University of Hull England 2536
ปริญญาตรี ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเทศไทย 2530

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. วีระกุล ชายผา และ พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2557). ประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการวิชาการขององค์การบริหารส่วนตำบลโนนค้อ. -: องค์การบริหารส่วนตำบลโนนค้อ. ( ).
2. วีระกุล ชายผา และ พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2557). ประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการวิชาการขององค์การบริหารส่วนตำบลนาเชือก. -: องค์การบริหารส่วนตำบลนาเชือก. ( ).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2566). “การดําเนินภารกิจบริหารที่สอดคล้องกับแนวคิดการจัดการคุณค่าสาธารณะในการแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำของบ้านสว่าง โดยองค์การบริหารส่วนตําบลป่าหวายนั่ง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , 8 (2). หน้า -.
2. พิธันดร นิตยสุทธิ์ และชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์. (2566). “ผลจากความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดำเนินภารกิจ ของสำนักงานเกษตรอำเภอในจังหวัดยโสธร.” รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 8 (1). หน้า -.
3. ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์ สุกัญญา เอมอิ่มธรรม และพิธันดร นิตยสุทธิ์. (2564). “ภาวะผู้นำท้องถิ่นไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (3). หน้า 105-131.
4. ณรงค์พล แจ้งสุวรรณ, พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2562). “แนวทางพัฒนาการให้บริการสวัสดิการสังคมด้านคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุของเทศบาลเมืองในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารการบริหารปกครอง, 8 (1). หน้า 336-353.
5. สถาพร เริงธรรม, พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2562). “แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการแบบบูรณาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษากรณี: การส่งเสริมให้เกิดการลดการใช้ถุงพลาสติกในจังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 36 (3). หน้า 167-194.
6. พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2562). “Book Review: Philosophy and Public Administration: An Introduction, By Edoardo Ongaro (2017).” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 (2). หน้า 173-177.
7. วนิดา ช้างเทศ และพิธันดร นิตยสุทธิ์. (2553). “แนวทางการบริหารงานส่งเสริมการปลูกผักส่วนครัวเชิงพาณิชย์ตามแนวทางเกษตรอินทรีย์ของสำนักงานเกษตรอำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 27 (1). หน้า 123-141.
8. พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2547). “สิทธิพลเมืองกับสิ่งแวดล้อมธรรมชาติภายใต้ภาวการณ์ขยะมูลฝอยของเทศบาลนครขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 22 (1). หน้า 95-107.
9. พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2546). “ความเป็นสถาบันขององค์กรเกษตรกรผู้ผลิตผักสวนครัวเชิงพาณิชย์ตามแนวเกษตรอินทรีย์.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 20 (2). หน้า 26-33.
10. Aimimtham, S., Piyanantisak. P, Nityasuiddhi, & Saenkaew, A. . (2018). “Khon Kaen University Students' Attitudes Towards Thai-US Relations.” Political Science and Public Administration Journal, Khon Kaen University, 3 (2). หน้า 27-42.
11. Pitundorn Nityasuiddhi. (2016). “Book Review: Critical Social Theory in Public Administration.” [Reviewed of the book Critical Social Theory in Public Administration, R. C. Cox]. Political Science and Public Administration Journal, Khon Kaen University , 1 (2). หน้า 115-119.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. อนิรุทธิ์ สัมฤทธิ์ และ พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2559). แนวทางการบริหารงานส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ชุมชนของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 4, จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี เมื่อวันที่ .

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     38     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์)
HS 471 901 ปรัชญาทางสังคมศาสตร์
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต)
414 702 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
414 891 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์
HS 457 101 ขอบข่ายแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์
HS 457 102 วิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
       5.3 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต)
414 340 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
414 161 การอ่านและการเขียนวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์
414 246 หลักและกระบวนการบริหารเพื่อการพัฒนา
414 346 การจัดการภาครัฐและเอกชน
414 348 เศรษฐกิจการเมืองว่าด้วยการบริหารการพัฒนา
414 362 ทักษะวิชาการสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรเดิม)
414 371 หลักการและกลยุทธ์การบริหารท้องถิ่น (หลักสูตรเดิม)
414 491 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์
414 495 สหกิจศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น