ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Philosophy) Kurukshetra University India 2553
ปริญญาโท M.A. (Philosophy) Kurukshetra University India 2548
ปริญญาตรี ศน.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประเทศไทย 2543

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. วิเชียร แสนมี. (2559). การพัฒนาแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการเทศน์แหล่อีสาน. ขอนแก่: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนทุนวิจัยโดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น).
2. วิเชียร แสนมี. (2559). รูปแบบการเผยแผ่พระพุทธสาสนาของศูนย์การศึกษาอวรมพระธรรมกถึก ประจำภาคตะวันออกเฉียงเหนือวัดบึงพลาญชัย. -: สำนักงานส่งเสริมการวิจัย (สกว.). (สนับสนุนทุนวิจัยโดยสำนักงานส่งเสริมการวิจัย (สกว.)).
3. วิเชียร แสนมี. (2558). แรงจูงใจในการเช่าพระเครื่องของหลวงปู่อ่อนสาและหลงปู่ทวดวัดช้างให้. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนทุนวิจัยโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
4. วิเชียร แสนมี. (2556). พัฒนาการในการสร้างพระเครื่อง : กรณีศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนทุนวิจัยโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
5. วิเชียร แสนมี. (2555). การศึกษาเชิงวิเคราะห์แนวคิดเรื่องสมณะที่ปรากฏในสามัญญผลสูตร. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนทุนวิจัยโดยสาขาวิขาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พระถาวร ตาพรประเสริฐ หอมหวล บัวระภา และวิเชียร แสนมี. (2566). “วิเคราะห์พุทธธรรมที่ปรากฏในงานศิลปกรรมในนครหลวงเวียงจันทน์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศาสนา.” วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6 (3). หน้า 1584-1601.
2. ประภาส แก้วเกตุพงษ์ วิเชียร แสนมี และจุรี สายจันเจียม. (2566). “รูปแบบการส่งเสริมอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธศิลป์ของอุโบสถในจังหวัดร้อยเอ็ด.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (9). หน้า 156-168.
3. ประภาส แก้วเกตุพงษ์ วิเชียร แสนมี และจุรี สายจันเจียม. (2565). “เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10 (5). หน้า 2113-2129.
4. พระมหานำเกียรติ วิสุทฺโธ (ทองทวี), พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ (วันยาว), วิเชียร แสนมี. (2563). “นิติศาสตร์แนวพุทธ.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ , 20 (2). หน้า 215-220.
5. พระมหานำเกียรติ วิสุทฺโธ (ทองทวี), พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, วิเชียร แสนมี. (2563). “การจัดการระบบนิเวศเชิงพุทธ.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 20 (1). หน้า 177-186.
6. พระมหาพงศ์ทราทิตย์ ก้องเสียง, หอมหวล บัวระภา, วิเชียร แสนมี. (2563). “การวิเคราะห์บทบาทของคณะสงฆ์ภาค 10 ตามศาสตร์สมัยใหม่ พุทธจริยา และพระธรรมวินัย.” วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 17 (1). หน้า 509-517.
7. พระมหาพงศ์ทราทิตย์ ก้องเสียง, หอมหวล บัวระภา, วิเชียร แสนมี. (2563). “บทบาทที่พึงประสงค์ของพระสงฆ์ไทยในปัจจุบันและอนาคต.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5 (1). หน้า 1-15.
8. จักรพันธ์ แสงทอง, วิเชียร แสนมี. (2563). “ปัญหาพุทธศาสนาในสังคมไทยตามทัศนะของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต).” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 10 (3). หน้า 135-145.
9. จักรพันธ์ แสงทอง, วิเชียร แสนมี. (2563). “วาทกรรมพุทธศาสนาแบบรัฐในสังคมไทย : ปัญหาและทางออกในทัศนะของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต).” Journal of Modern Learning Development , 5 (3). หน้า 301-316.
10. วิเชียร แสนมี, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “แนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท.” Journal of Modern Learning Development, 5 (3). หน้า 288-300.
11. ประภาส แก้วเกตุพงษ์, วิเชียร แสนมี. (2563). “พุทธศาสนา : การสร้างสันติสุขอย่างยั่งยืน.” พุทธมัคค์, 5 (1). หน้า 63-73.
12. วิเชียร แสนมี. (2563). “วรรณกรรมที่ใช้ในการเทศน์แหล่อีสาน.” Journal of Modern Learning Development , 5 (6). หน้า 286-299.
13. วิเชียร แสนมี. (2563). “วรรณกรรมที่ใช้ในการเทศน์แหล่อีสาน.” Journal of Modern Learning Development , 5 (6). หน้า 286-299.
14. วิเชียร แสนมี. (2563). “วรรณกรรมที่ใช้ในการเทศน์แหล่อีสาน.” Journal of Modern Learning Development , 5 (6). หน้า 286-299.
15. พระครูกิตติโชติกุล กิตติปาโล (ปะละกัง), จรัส ลีกา, สุวิน ทองปั้น, นิเทศ สนั่นนารี, วิเชียร แสนมี. (2562). “พุทธจริยศาสตร์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนในอำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น , 6 (4). หน้า 341-354.
16. ปาลญา นามเข็ม, พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, วิเชียร แสนมี. (2562). “แนวทางการพัฒนาบุคลิกภาพตามหลักพระพุทธศาสนา ของบุคลากรธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (1). หน้า 11-22.
17. วิเชียร แสนมี. (2560). “รูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการเทศน์แหล่อีสาน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม , 6 (2). หน้า 119-140.
18. วิเชียร แสนมี. (2560). “หลักพุทธธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (2). หน้า 217-244.
19. วิเชียร แสนมี. (2560). “Buddhist Principles for Peaceful Co-Existence..” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 34 (2). หน้า 217-240.
20. วิเชียร แสนมี. (2559). “พัฒนาการในการสร้างพระเครื่องในภาคอีสาน.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 33 (2). หน้า 72-88.
21. วิเชียร แสนมี. (2559). “แนวคิดเรื่องสมณะที่ปรากฏในสามัญผลสูตร.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 16 (3). หน้า 241-251.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Wichian Sanmee, Niraj Ruangsan, Prapas Kaewketpong. (2021). "Online Instructional Activities for Creative Internet Use of Tertiary Students in Thailand". Psychology and Education, 58 (1). Page 1453-1457, 2021. (Scopus).
2. Wichian Sanmee, Niraj Ruangsan, Vitthaya Thongdee, Somkuan Namseethan, Phramaha Mit Thitapañyo. (2021). "Comparison of Buddhist Principles with Archaeological Execution". Psychology and Education, 58 (2). Page 5669-5674, 2021.
3. wichian Sanmee Winit Pharcharuen Phattharachai Uthaphan Surachai Phutchu Notnargorn Thongputtamon. (2021). "Coexistence and Peace Base on Diversity in a Multicultural Society : Case Study of Ban Rai Community, Suppong Sub-distric, Pang Mapha District Mae Hong Son Province". Linguistic and Culture Review, 5 (S3). Page 1020-1031, 2021.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     13     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (วิชาปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
419 991​​ Seminar in Eastern Philosophy and Religion with Modern Science
419 992​​ Seminar in Social-Engaged Philosophy and Religion
       5.2 ระดับปริญญาโท (วิชาปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
419 703​ ​ A Survey of Western Philosophy
​419 899 ​ Thesis
       5.3 ระดับปริญญาตรี (วิชาปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
419 110​​ Introduction to Philosophy
419 123​​ Introduction to Buddhism
419 130 ​ Thai Culture
419 131 ​ Esan Culture
419 220​​ Hinduism
419 420​​ Buddhism in Thailand

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น