ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ :
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2563
ปริญญาโท ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์และภาษาเอเชียอาคเนย์) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2545
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาฝรั่งเศส, เกียรตินิยมอันดับ2) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2539

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. (2560). ภาษาศาสตร์ภาษาไทย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. (2560). ภาษาลาวขั้นต้น. ขอนแก่น: โรงพิมพ์แอนนา​ออฟเซ็ต.

3.2 งานวิจัย    
1. สาริสา อุ่นทานนท์. (2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การใช้ภาษาในการตั้งชื่อของคนลาวในเขตนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว. นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว: . ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. (2566). “ข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาไทยของยูทูบเบอร์ลาว.” วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 41 (1). หน้า 96-121.
2. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์ และรัตนา จันทร์เทาว์. (2564). “โครงสร้างและที่มาภาษานามสกุลคนลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 31 (1). หน้า 176-200.
3. รัตนา จันทร์เทาว์ และกัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. (2564). “นามสกุลคนลาว นครหลวงเวียงจันทน์: คำและความหมาย.” ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 9 (1). หน้า 38-56.
4. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์ และรัตนา จันทร์เทาว์. (2563). “คำเรียกสีในภาษาไทย และโครงสร้างคำเรียกสี.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5 (6). หน้า 154-167.
5. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์ และ รัตนาจันทร์เทาว์. (2561). “คำยืมภาษาอังกฤษในภาษาลาว: หมวดหมู่ความหมายและผลกระทบต่อภาษาลาว.” ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 7 (2). หน้า 190-201.
6. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์ และ รัตนาจันทร์เทาว์. (2560). “คำยืมภาษาอังกฤษในภาษาลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 82-99.
7. สาริสา อุ่นทานนท์. (2553). “การตั้งชื่อของคนลาว: คำและความหมาย.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 27 (3). หน้า 86-99.
8. รัตนาจันทร์เทาว์ และสาริสา อุ่นทานนท์. (2550). “ข้อบกพร่องการเขียนภาษาลาว ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 3 (2). หน้า 123-147.
9. สาริสา อุ่นทานนท์. (2550). “คำเรียกสีในภาษาลาว.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 24 (1). หน้า 33-46.
10. สาริสา อุ่นทานนท์. (2550). “อิทธิพลคำยืมภาษาอังกฤษที่มีต่อภาษาลาว.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 24 (3). หน้า 99-110.
11. สาริสา อุ่นทานนท์. (2548). “สถานภาพการเรียนการสอนภาษาลาว.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 23 (1). หน้า 18-33.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Kanyarat Unthanon, Rattana Chanthao and Warinthon Dandee. (2024). "Word-Formation of New Words in Thai Language Dictionary". International Journal of Education and Social Science Research, 7 (2). Page 179-189.
2. Kanyarat Unthanon. (2022). "The Northern Thai Dialect Used in Chiang Mai, Thailand". International Journal of Education and Social Science Research, 5 (4). Page 268-276.
3. Chanthao, R. & Unthanon, K. (2021). "Word-formation of business words in Laotian language". International of Social Sciences and Economic Research, 6 (1). Page 113-124.
4. Kanyarat Unthanon and Rattana Chanthao. (2018). "Development of Personal Naming in Laos". International Journal of Education and Social Science Research, 1 (4). Page 240-245.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Kanyarat Unthanon. (2018). Economic City and Nicknaming Change of Lao People in Vientiane Laos PDR. In 9th NEU-KKU INTERNATIONAL CONFERENCE ON SOCIO-ECONOMIC AND ENVIRONMENTAL ISSUES IN DEVELOPMENT, During 11-12 May, 2018. , National Economic University, Vietnam.
2. Kanyarat Unthanon. (2017). Final consonants of English loan words in Lao language. In 13th International Conference on Humanities and Social Sciences, During . , .

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     29     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย)
HS677101 ทฤษฎีเพื่อการวิจัยภาษาไทย
       5.2 ระดับปริญญาตรี (ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย)
HS611101 ภาษาศาสตร์ภาษาไทย
HS612405 การเรียนรู้ภาษา
HS921101 ภาษาลาว 1
HS921102 ภาษาลาว 2

6. ความเชียวชาญ : ภาษาศาสตร์


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator