ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ครุศาสตรดุษฏีบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2551
ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2542
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2538

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2565). การออกแบบบริการสารสนเทศ. ขอนแก่น: สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2557). ห้องสมุดดิจิทัล. ขอนแก่น: สาขาวิชาสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2557). ความต้องการใช้บริการห้องสมุดบนมือถือของนักศึกษาระดับสถาบันอุดมศึกษา. ขอนแก่น: กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วงสอน ลุนยะเดด และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2566). “การส่งเสริมการอ่านของเด็กก่อนวัยเรียน เมืองไชธานี นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 41 (1). หน้า 122-142.
2. ชเนตตี อินทรสิทธิ์ กันยารัตน์ เควียเซ่น และอิสรา ก้านจักร. (2566). “ความต้องการต่อการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการศึกษาแบบเปิดของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ.” Interdisciplinary Academic and Research Journal, 3 (5). หน้า 1015-1032.
3. จตุรงค์ จิตติยพล และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2566). “พุทธพาณิชย์ กับพฤติกรรมสารสนเทศของคนไทย.” วารสารห้องสมุด, 67 (1). หน้า 124-140.
4. สุวรรณี ห้วยหงษ์ทอง และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2565). “การวิเคราะห์และจัดระบบความรู้วัฒนธรรมร่วม ด้านประเพณีของกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง.” อินฟอร์เมชั่น, 29 (1). หน้า 155-173.
5. กันยารัตน์ เควียเซ่น สุวรรณี ห้วยหงษ์ทอง จตุรงค์ จิตติยพล อินทิรา พรมพันธุ์ และสุทธินันท์ ชื่นชม. (2565). “ความรู้ความสามารถของครูบรรณารักษ์สำหรับการจัดบริการห้องสมุดโรงเรียนแบบสมาร์ท.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 40 (2). หน้า 116-133.
6. พิพัฒพงศ์ ชูประยูร และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2564). “แนวทางการพัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะผู้ปฏิบัติงานแผนกหม้อต้ม กรณีศึกษา : บริษัท น้ําตาลไทยอุดรธานี จํากัด.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 39 (2). หน้า 55-73.
7. ณัฐนันท์ ตาสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2564). “ประสบการณ์ผู้ใช้และความต้องการของผู้ใช้บริการหออัตลักษณ์นครน่าน.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 39 (1). หน้า 59-72.
8. ณัฐนันท์ ตาสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2564). “ประสบการณ์ผู้ใช้และความต้องการของผู้ใช้บริการหออัตลักษณ์นครน่าน.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 39 (1). หน้า 59-72.
9. พิพัฒพงศ์ ชูประยูร และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2564). “แนวทางการพัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะผู้ปฏิบัติงานแผนกหม้อต้ม กรณีศึกษา: บริษัท น้ำตาลไทยอุดรธานี จำกัด.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 39 (2). หน้า 55-73.
10. สุวรรณี ห้วยหงษ์ทอง และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2563). “การพัฒนาออนโทโลยีเกี่ยวกับศิลปะการแสดงพื้นบ้านอีสาน.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 38 (4). หน้า 42-60.
11. ณัฐอร เลี้ยวประเสริฐ และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2563). “สภาพการรอบรู้สุขภาพเกี่ยวกับแม่และเด็ก ของสตรีมีครรภ์ และมารดาที่มีบุตรอายุไม่เกิน 4 ขวบ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 38 (2). หน้า 17-32.
12. ปริญญ์ ขวัญเรียง และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2563). “สภาพการให้บริการสารสนเทศห้องสมุดมหาวิทยาลัยเปิดในประเทศไทย.” วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 33 (3). หน้า 118-131.
13. วราภรณ์ พนมศิริ และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2562). “ความรู้ ความเข้าใจในมาตรฐานการทำรายการ RDA ของบรรณารักษ์ในห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ.” อินฟอร์เมชั่น, 26 (2). หน้า 63-82.
14. กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2562). “Library Service Design : A LITA Guide to holistic assessment, insight, and improvement..” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 37 (4). หน้า 110-114.
15. พรกนก คำวิเชียร และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2562). “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของแผนกแผนปฏิบัติการและบำรุงรักษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จังหวัดขอนแก่น.” อินฟอร์เมชั่น, 26 (1). หน้า 1-11.
16. อมรรัตน์ สารีพิมพ์ กันยารัตน์ เควียเซ่น และวาทินี ถาวรธรรม. (2562). “การใช้สารสนเทศสำหรับการรับเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยขอนแก่น และการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาโดยใช้เทคนิคเหมืองข้อมูล.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 37 (1). หน้า 67-92.
17. นวพล แก้วสุวรรณ กันยารัตน์ เควียเซ่น และชุ่มจิตต์ แซ่ฉั่น. (2562). “โครงสร้างความรู้งานวิจัยเพื่อการพัฒนา กับสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนในกลุ่มจังหวัดภาคใต้.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 39 (1). หน้า 41-62.
18. นวพล แก้วสุวรรณ, กันยารัตน์ เควียเซ่น และชุ่มจิตต์ แซ่ฉั่น. (2562). “ความต้องการสารสนเทศของนักวิจัยเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการพัฒนาภาคใต้ (Information Needs of Researchers on Research for Southern Thailand Development).” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 16 (1). หน้า 46-63.
19. สุวรรณี ห้วยหงษ์ทอง และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2562). “การกำหนดองค์ประกอบเมทาดาทาสำหรับภาพจิตรกรรมฝาผนัง.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 37 (2). หน้า 94-114.
20. ปัทมากร เนตรวิจิตร กุลธิดา ท้วมสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2561). “Development of a Policy on National Information Infrastructure for Disabilities in Thailand: Perspectives of Policy Makers and Disability Leaders.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 36 (3). หน้า 1-18.
21. นวพล แก้วสุวรรณ, กันยารัตน์ เควียเซ่น และชุ่มจิตต์ แซ่ฉั่น. (2561). “การสังเคราะห์ปัญหา ความต้องการ และยุทธศาสตร์ของสำนักบริหารกลุ่มจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้กับความสอดคล้องของสาขาวิชาการจากสภาวิจัยแห่งชาติ.” วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 32 (1). หน้า 389-423.
22. กัมพล เกศสาลี, & กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2561). “การรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12 (2). หน้า 503-514.
23. วรัญญา พิลาหอม และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2560). “ความต้องการใช้บริการสารสนเทศเลือกสรรเฉพาะบุคคล สําหรับผู้ใช้ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 35 (1). หน้า 108-123.
24. แสงจันทร์ จันทร์โท และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2560). “การประเมินการใช้หนังสือของศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 11 (1). หน้า 167-170.
25. กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ กันยารัตน์ เควียเซ่น และกุลธิดา ท้วมสุข. (2559). “การบูรณาการการรู้สารสนเทศในการเรียนการสอนกลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมในระดับประถมศึกษา.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34 (1). หน้า 122-147.
26. วิภาดา ชาตะสุวัจนานนท์ และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2559). “การดำเนินงานพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34 (3). หน้า 89-102.
27. ชุติกาญจน์ บุตรพรม และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2558). “ความต้องการใช้แหล่งสารสนเทศแบบเสรีของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” บรรณศาสตร์ มศว, 8 (1). หน้า 1-11.
28. ปัทมากร เนตยวิจิตร, กุลธิดา ท้วมสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2558). “องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลในการพัฒนานโยบายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสำหรับคนพิการของประเทศไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 33 (1). หน้า 52-88.
29. อรนิต ประนมไพร และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2558). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชน.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 33 (1). หน้า 107-122.
30. ปัทมากร เนตยวิจิตร กุลธิดา ท้วมสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2558). “พฤติกรรมสารสนเทศและการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของคนพิการ.” อินฟอร์เมชั่น, 22 (2). หน้า 50-60.
31. กัลยาณี ทองเลี่ยมนาค, กันยารัตน์ เควียเซ่น และสมชาย สุริยะไกร. (2557). “พฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ของนักวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 32 (3). หน้า 81-110.
32. ศตพล ยศกรกุล และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2557). “การพัฒนาบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าเสมือนสำหรับห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาโดยใช้แนวคิดห้องสมุด 2.0.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 32 (3). หน้า 1- 18.
33. กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2556). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการใช้บริการห้องสมุดบนมือถือของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 6 (1). หน้า 1-13.
34. จิตชญา กรสันเทียะ และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2556). “ปัจจัยที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนการรู้สารสนเทศสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 31 (2). หน้า 1-22.
35. กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2556). “การใช้เทคโนโลยีเคลื่อนที่เพื่อพัฒนาการบริการสารสนเทศ.” วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 6 (1). หน้า 93-102.
36. กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ กันยารัตน์ เควียเซ่น และกุลธิดา ท้วมสุข. (2556). “องค์ประกอบและปัจจัยที่ส่งเสริมการบูรณาการการสอนการรู้สารสนเทศ โดยใช้สภาพแวดล้อมทางการเรียนเสมือนจริง.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 6 (1). หน้า 53-70.
37. อินทิรา นนทชัย และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2556). “การพัฒนาบริการห้องสมุดบนมือถือสำหรับศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 31 (3). หน้า 30-48.
38. อนันศักดิ์ พวงอก ลำปาง แม่นมาตย์ และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2556). “การวิเคราะห์ช่องว่างระหว่างความคาดหวังของผู้บริหารและผู้ใช้บริการกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบันของการจัดการและให้บริการของห้องสมุดในการผลักดันวิสัยทัศน์ เป้าหมายและยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ.” วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 8 (2). หน้า 111-128.
39. สมาน ลอยฟ้า กันยารัตน์ เควียเซ่น ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ เพ็ญพันธ์ เพชรศร มาลี กาบมาลา และสมเพ็ชร จุลลาบุดดี. (2555). “พฤติกรรมการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 30 (3). หน้า 51-69.
40. กุลธิดา ท้วมสุข และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2555). “ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตของกลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยขอนแก่นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 30 (2). หน้า 1-24.
41. กนกวรรณ ชินอ่อน และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2554). “การส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศในรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1 ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29 (1). หน้า 13-22.
42. ศิรินนา วอนเก่าน้อย และกันยารัตน์ เควียเซ่น. (2554). “การใช้บล็อกเพื่อจัดการความรู้ของบุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29 (2). หน้า 1-8.
43. กันยารัตน์ เควียเซ่น. (2553). “การประยุกต์ใช้วิกิกับงานบริการสารสนเทศบนเว็บ.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 28 (1). หน้า 61-71.
44. Kewsuwun, N., Kwiecien, K. & Sae-Chan, C. (2020). “Development of Southern Research Recommendation System.” Asian Conference on Intelligent Information and Database Systems; Book Chapter, 1178 (0). หน้า 537-549.
45. Kewsuwun, N., Kwiecien, K. & Sae-Chan, C. (2020). “Research knowledge management system on problems, needs and strategies of Southern Thailand.” Humanities & Social Sciences Reviews, 8 (1). หน้า 323-333.
46. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Kwiecien, K., Ruangrajitpakorn, T., Supnithi, T. (2015). “Document Development of the belief culture ontology and its application: Case study of the GreaterMekong subregion.” Source of the Document Lecture Notes in Computer Science, 8943 (0). หน้า 297-310.
47. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Kwiecien, K., Ruangrajitpakorn, T., Supnithi, T. (2015). “Semantic knowledge retrieval for belief culture.” Lecture Notes in Computer Science, 9469 (0). หน้า 294-295.
48. Prommakorn, C., Tuamsuk, K., Kwiecien, K. (2015). “Business ontology model for community enterprise of Thai local wisdom.” Source of the Document Lecture Notes in Computer Science, 9469 (0). หน้า 354-355.
49. Kingsawat, K., Kwiecien, K., Tuamsuk, K. (2015). “Components and factors in integrating information literacy instruction in elementary education using a virtual learning environment.” Libres, 25 (1). หน้า 50-77.
50. Suebchompu, T., Tuamsuk, K., Kwiecien, K. (2015). “Development of 3d virtual museum for ban Chiang masterpiece of potteries.” Source of the Document Lecture Notes in Computer Science, 9469 (0). หน้า 356-357.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Wirapong Chansanam, Kanyarat Kwiecien, Marut Buranarachb and Kulthida Tuamsuka. (2021). "Open Access Digital Thesaurus on Ethnic Groups in the Mekong River Basin". Frontiers in Artificial Intelligence and Applications, 340 (0). Page 190-199.
2. Wirapong Chansanam, Juthatip Chaikhambung, Kanyarat Kwiecien, Kulthida Tuamsuk. (2021). "Development of Smart Library System for Thailand's Primary School Teachers". Review of International Geographical Education Online, 11 (5). Page 4257-4275.
3. Kanyarat Kwiecien, Wirapong Chansanam, Thepchai Supnithi, Jaturong Chitiyaphol and Kulthida Tuamsuk. (2021). "Metadata Schema for Folktales in the Mekong River Basin". Informatics, 8 (4). Page 82.
4. Wirapong Chansanam, Kulthida Tuamsuk, Kanyarat Kwiecien, Sam Oh. (2021). "Korean popular culture analytics in social media streaming: evidence from youtube channels in Thailand". International Journal of Advances in Intelligent Informatics, 7 (3). Page 329-344.
5. Kwiecien, K., Chansanam, W., Supnithi, T., Chitiyaphol, J. & Tuamsuk, K. (2021). "Metadata schema for folktales in the Mekong River Basin". Informatics, 8 (4). Page 82.
6. Chansanam, W., Kwiecien, K., Buranarach, M. & Tuamsuk, K. (2021). "A digital thesaurus of ethnic groups in the Mekong River Basin". Informatics, 8 (3). Page 50.
7. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Kwiecien, K., Sutthiprapa, K., Supnithi, T. (2021). "Thai tattoo wisdom’s representation of knowledge by ontology". Informatics, 8 (1). Page 3.
8. Chansanam, W., Kwiecien, K., Chaikhambung, J., Tuamsuk, K. (2021). "Development of Smart Library System for Thailand's Primary School Teachers". Review of International Geographical Education Online, 11 (5). Page 4257–4275.
9. Kewsuwun, N., Kwiecien, K. & Sae-Chan, C. (2020). "Development of Southern Research Recommendation System". Asian Conference on Intelligent Information and Database Systems; Book Chapter, 1178 (-). Page 537-549.
10. Kewsuwun, N., Kwiecien, K. & Sae-Chan, C. (2020). "Research knowledge management system on problems, needs and strategies of Southern Thailand". Humanities & Social Sciences Reviews, 8 (1). Page 323-333.
11. Kewsuwun, N., Kwiecien, K. & Sae-Chan, C. (2019). " The Development of research recommendation system for Southern Thailand development". International Journal of Managing Information Technology (IJMIT), 11 (4). Page 21-40.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Kaewsuwan, N., Kwiecien, K., & Sae-chan, C. (2018). Knowledge structure of research for the Southern of Thailand. In The 1st International Conference on Library and Information Science, During 18-19 August, 2018. Bangkok, Thailand.
2. Hoaihongthong, S. & Kwiecien, K. (2018). Analyzing and Classifying Knowledge Contentof Isan murals painting. In The 1st International Conference on Library and Information Science, During 18-19 August,2018. Sukhothai Thammathirat Open University, Thailand.
3. Oh, D.G., Kwiecien, K., Soommart, A. and Chumapai, N. (2018). Analysis on the complaints of Academic Library Users: A case study of Khon Kaen University Library, Thailand. In International Conference on Convergence: Content, Media and Technology 2018, During November 22-23, 2018. Faculty of Informatics, Mahasarakham University.
4. Muangsanam, P. & Kwiecien, K. (2018). Scholarly Output of Academic Member Works of HUSO Lecturers. In International Conference on Convergence: Content, Media and Technology 2018, During November 22-23, 2018. Faculty of Informatics, Mahasarakham University.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     29     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา)
412 999 Dissertation
HS 287 701 Research and Seminar in Information Studies
HS 287 712 Research for Information Studies I
HS 287 713 Research for Information Studies II
HS 287 996 Dissertation
HS 287 996 Dissertation
HS 287 998 Dissertation
HS 287 998 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต)
412 899 Thesis
HS 248 891 Research and Seminar in Information Science
HS 267 714 Digital Design Management
HS 267 716 Digital Communication
HS 267 891 Research and Seminar for Information Science
HS 267 896 Thesis
HS 267 898 Thesis
       5.3 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต)
HS 212 503 Digital Service
HS 213 304 Digital Content creation

6. ความเชียวชาญ : เมทาดาทา, บริการสารสนเทศดิจิทัล, การออกแบบบริการ, การรู้ดิจิทัล, การบริการห้องสมุด

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น