ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก รป.ด.(รัฐประศาสนศาสตร์) วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ประเทศไทย 2550
ปริญญาโท ศศ.ม.(สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2532
ปริญญาตรี น.บ. (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเทศไทย 2525

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2562). นโยบายสาธารณะกับการมีส่วนร่วมของประชาชน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2559). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด . (2559). สังคมวิทยาองค์การ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2558). สังคมวิทยาองค์การ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2555). สังคมวิทยาการเมือง (Political Sociology). ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, (หนังสือที่ได้รับรางวัลจากโครงการประกวดตำราเนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปีมหาวิทยาลัยขอนแก่น).
6. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2555). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขั้นแนะนำ. ขอนแก่น : เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
7. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2553). สังคมวิทยาองค์กรขั้นแนะนำ. ขอนแก่น: เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมวิทยาองค์กร สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
8. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2553). สิทธิพื้นฐานและประชาสังคม. ขอนแก่น: เอกสารประกอบการสอนสำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
9. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2543). สังคมวิทยาเมือง (Urban Sociology). ขอนแก่น: เอกสารประกอบการสอนภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
10. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2543). สังคมวิทยาการเมือง (Political Sociology). ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา, (หนังสือที่ได้รับรางวัลจากโครงการประกวดตำราเนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปีมหาวิทยาลัยขอนแก่น).
11. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2543). บทบาทของราชการส่วนกลางในการสนับสนุนการดำเนินงานเมืองน่าอยู่แก่ท้องถิ่น. ขอนแก่น: เอกสารประกอบการสอนวิชา 415 312สังคมวิทยาเมือง ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด และคณะ. (2561). วัฒนธรรมทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย : ศึกษาเปรียบเทียบ วัฒนธรรมทางการเมืองในชุมชนท้องถิ่นระหว่างภาคอีสานและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย. ขอนแก่น: ทุน สนับสนุนการศึกษาวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการระหว่างคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ( ประจำปีงบประมาณ 2559).
2. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด และคณะ. (2561). การศึกษาเครือข่ายกลุ่มอิทธิพลซึ่งน าไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่าง เป็นระบบ (Organized Corruption) ของภาคการศึกษา: กรณีศึกษา โรงเรียนสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมเขตที่ 24, 25, 26.(กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงาน คณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์).
3. สุณีย์ กวิศราสัย ณฐมน ศรีธงชัย พรอัมรินทร์ พรหมเกิด และสฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ. (2558). รายงานการวิจัยเรื่องศักยภาพและการปรับตัวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อรองรับความเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีศึกษาจังหวัดนครพนมและจังหวัดมุกดาหาร. ขอนแก่น: . (ทุนสนับสนุนการวิจัยประเภทอุดหนุนทั่วไป ประจำปีงบประมาณ 2556 มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
4. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2557). การพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในเขตชนบทอีสาน: กรณีศึกษาประชาชนในเขตหมู่บ้านคำบง ต. สะอาด อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น. ขอนแก่น: . ().
5. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2555). รายงานการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วรัญญา ศรีริน และพรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2566). “บทวิเคราะห์ทางสังคมวิทยาการเมืองว่าด้วยวัฒนธรรมทางการเมืองหลักของชาวบ้าน: กรณีศึกษาหมู่บ้านชนบทแห่งหนึ่งในอีสานเหนือ.” วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 21 (1). หน้า 111-131.
2. ปฏิภาณ ผลมาตย์ และพรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2565). “ปทัสถานความเป็นพลเมืองดิจิทัลกับเยาวชนภายใต้ความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล.” วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 10 (1). หน้า 50-57.
3. สุเทพ คำเมฆ และพรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2565). “การศึกษาความเป็นพลเมืองผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาการเมือง.” วารสารจันทรเกษมสาร , 28 (1). หน้า 78-92.
4. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด, วรัญญา ศรีริน, ธีรภัทร์ ลอยวิรัตน์. (2564). “บททดลองเสนอว่าด้วยการเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองกับการขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม : มุมมองทางสังคมวิทยาการเมือง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (1 ). หน้า 244-280.
5. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด และวรัญญา ศรีริน. (2564). “การขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ําทางสังคมกับการสร้างสรรค์ประชาธิปไตย : บทวิเคราะห์ทางสังคมวิทยาการเมือง.” รัฐสภาสาร, 69 (2). หน้า 5-42.
6. วรัญญา ศรีริน พรอัมรินทร์ พรหมเกิด และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2564). “วัฒนธรรมทางการเมืองหลักกับการพัฒนาประชิปไตยของคนชนบทอีสานในวันนี้.” Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia, 27 (3). หน้า 43-86.
7. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด วรัญญา ศรีริน และธีรภัทร ลอยวิรัตน์. (2564). “บททดลองเสนอว่าด้วยการเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองกับการขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม : มุมมองทางสังคมวิทยาการเมือง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (1). หน้า 245-280.
8. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด วรัญญา ศรีริน และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2563). “การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ พลเมืองกับการขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม.” วารสารวิทยาลัยการเมืองการปกครอง, 10 (3). หน้า .
9. เขมณัฐ ภูกองไชย และพรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2562). “รูปแบบองค์การที่มีสมรรถนะสูงของเทศบาลตำบล.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 36 (2). หน้า 74 - 101.
10. พรอัมรินทร์พรหมเกิด, วรัญญา ศรีริน, ธีรภัทร ลอยวิรัตน์ และกีรติพร จูตะวิริยะ. (2562). “การศึกษาเครือข่ายกลุ่ม อิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบของภาคการศึกษา.” วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 12 (1). หน้า 35 - 61.
11. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด วรัญญา ศรีริน และเพิ่ม หลวงแก้ว. (2562). “มาตรการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันความร่วมมือ ของเครือข่ายกลุ่มอิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบในภาคการศึกษา.” วารสารวิชาการ ป.ป.ช. , 2 (12). หน้า 13-26.
12. เขมณัฐ ภูกองไชย, พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2562). “รูปแบบองค์การที่มีสมรรถนะสูงของเทศบาลตำบล.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 36 (2). หน้า 74-101.
13. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด, รักชนก ชำนาญมาก, วรัญญา ศรีริน. (2562). “วัฒนธรรมทางการเมืองหลักของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านขาม อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 11 (1). หน้า 228-248.
14. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด, วรัญญา ศรีริน, ธีรภัทร์ ลอยวิรัตน์, เพิ่ม หลวงแก้ว. (2562). “เครือข่ายกลุ่มอิทธิพลกับการทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบในภาคการศึกษา: กรณีศึกษาการทุจริตคอร์รัปชันจากโครงการก่อสร้างสนามฟุตซอล และสหกรณ์ออมทรัพย์ครู.” วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 17 (3). หน้า 114-134.
15. ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา, ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์, พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2562). “การสร้างฐานอำนาจของผู้นำทางการเมืองท้องถิ่น.” วารสารเกษมบัณฑิต, 20 (-). หน้า 143-156.
16. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด, วรัญญา ศรีริน, ธีรภัทร์ ลอยวิรัตน์, กีรติพร จูตะวิริยะ. (2562). “การศึกษาเครือข่ายกลุ่มอิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบของภาคการศึกษา.” วารสารวิชาการ ป.ป.ช. , 12 (1). หน้า 35-61.
17. ชูเกียรติ ผลาผล, ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ, พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2562). “การกล่อมเกลาทางการเมืองที่นำไปสู่แบบแผนวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำทางการเมืองในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (4). หน้า 47-58.
18. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด, วรัญญา ศรีริน, เพิ่ม หลวงแก้ว. (2562). “มาตรการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันความร่วมมือของเครือข่ายกลุ่มอิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบในภาคการศึกษา.” วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 12 (2). หน้า 18-44.
19. จาตุรนต์ ทองหวั่น และพรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2561). “กระบวนทัศน์เบื้องต้นในการพัฒนาสมรรถนะองค์การของ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น.” วารสารการบริหารท้องถิ่น, 11 (2). หน้า 2 - 22.
20. จาตุรนต์ ทองหวั่น และพรอัมรินทร์ พรหมเกิ. (2561). “กระบวนทัศน์เบื้องต้นในการพัฒนาสมรรถนะองค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ.” วารสารการบริหารท้องถิ่น, 11 (2). หน้า 1-22.
21. กันยปริณ ทองสามสี และพรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2560). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความซื่อสัตย์ทางวิชาการของ นักศึกษาระดับปริญญาตรีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต.” มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 67 – 191.
22. กันยปริณ ทองสามสี และพรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2560). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความซื่อสัตย์ทางวิชาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 167-191.
23. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2559). “ปฏิรูปการพัฒนาประชาธิปไตยไทย: ทัศนะตามกรอบแนวคิดวัฒนธรรมทาง การเมือง.” วารสารคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม), 1 (1). หน้า 75 - 92.
24. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2559). “ก้าวข้ามให้พ้นกับดักการพัฒนาประชาธิปไตยไทยด้วยการพัฒนาวัฒนธรรมทาง การเมืองแบบประชาธิปไตย: สู่เส้นทางใหม่ที่ยั่งยืนกว่า.” วารสารร่มพฤกษ, 34 (1). หน้า 12 - 40.
25. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2559). “ก้าวข้ามให้พ้นกับดักการพัฒนาประชาธิปไตยไทยด้วยการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย : สู่เส้นทางใหม่ที่ยั่งยืนกว่า.” วารสารร่มพฤกษ์, 34 (1). หน้า 11-40.
26. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2558). “ปฏิรูปการเมืองไทยด้วยการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย :สู่เส้นทางใหม่ที่ยั่งยืนกว่า.” รัฐสภาสาร, 63 (11). หน้า 9-34, พฤศจิกายน.
27. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2558). “ก้าวข้ามกับดักการพัฒนาประชาธิปไตยไทยไทยด้วยการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย :สู่เส้นทางใหม่ที่ยั่งยืนกว่า.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 32 (3 ). หน้า 70 - 99, กันยายน – ธันวาคม.
28. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2558). “ก้าวข้ามกับดักการพัฒนาประชาธิปไตยไทยด้วยการพัฒนาวัฒนธรรม ทางการเมืองแบบประชาธิปไตย : สู่เส้นทางใหม่ที่ยั่งยืนกว่า.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 32 (3). หน้า 70-99.
29. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2557). “วัฒนธรรมทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตยในเขตชนบทอีสาน : กรณีศึกษาประชาชนในเขตหมู่บ้านคำบง และหมู่บ้านสะอาด ตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 31 (3). หน้า 63-96.
30. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2557). “การพัฒนาประชาธิปไตยกับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย.” รัฐสภาสาร, 62 (7). หน้า 9-43.
31. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2557). ““วัฒนธรรมทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย”.” วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ฉบับปฐมฤกษ์, 1 (1 ). หน้า 58 -73, มกราคม – ธันวาคม.
32. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2551). “กลยุทธ์การสร้างความอยู่รอดขององค์การพัฒนาเอกชนไทย : การวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีการพึ่งพาทรัพยากร.” รัฐสภาสาร, 56 (1). หน้า 83-120.
33. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2551). “กลยุทธ์การสร้างความอยู่รอดขององค์การพัฒนาเอกชนไทย : การวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีพึ่งพาทรัพยากร.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 25 (3). หน้า 22-56.
34. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2548). “องค์การพัฒนาเอกชนกับสังคมไทย.” รัฐสภาสาร, 53 (7). หน้า 29-112.
35. พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์ พรอัมรินทร์ พรหมเกิด สุริยานนท์ พลสิม วีระพงศ์ แสนจันทร์ วีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน์ ศศิ จังสถิตย์กุล และจักรกฤษณ์ ดวงพัตรา. (2539). “การศึกษาผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจแสงคมจากการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว.” วารสารวิจัย มข., 1 (2). หน้า 58-64.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด และ วรัญญา ศรีริน. (2563). บททดลองเสนอว่าด้วยการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองกับการขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม. ในการประชุมวิชาการเครือข่าย-วิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่18 กันยายน 2536 (ระบบออนไลน์).
2. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2558). “ปฏิรูปการพัฒนาประชาธิปไตยไทย : เส้นทางสู่อนาคตที่ดีกว่า.”. ในบทความวิจัยนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติในงานมหกรรมวิชาการเรื่อง “สุนทรียะการพัฒนา และความเป็นธรรม.” , จัดโดย เมื่อวันที่27 กุมภาพันธ์ 2558 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
3. พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2557). การพัฒนาประชาธิปไตยตามกรอบแนวคิดวัฒนธรรมทางการเมือง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารกิจการสาธารณะ ครั้งที่ 2 Local Communities: Power of Thailand’s National Reform, จัดโดย เมื่อวันที่7 สิงหาคม 2557 ณ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Sririn, W. and Promgird, P. (2019). Political Culture and Stabilized Democracy : A Political Sociology Perspective. In International Conference on Humanities and Social Sciences 2019, During 11-12 November 2019. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon kaen University, Thailand. .
2. Promgird, P. et al.. (2017). The Principal Political Culture of Local Communities People in the Northeast : A Case Study of People in Ban Kham Local Administration, Nampong District, Khon-Kaen Province. In the 9th International Conference on Humanities and Social Sciences, During May 26, 2017. Prince of Songkla University, Hat Yai, Thailand.
3. Promgird, P.. (2016). Going Beyond Thai Democratic Development Trap through Democratic Political Culture : Towards more Sustainable New Path. In the International Conference between Department of Sociology, During February 21-22, 2016. Graduate School of Humanities and Social Sciences, Universitiy of the Ryukyus and Department of Sociology and Anthropology, Faculty of Humanities and Social sciences, Khon Kaen University.
4. Pornamarin Promgird. (2016). “Going Beyond Thai Democratic Development Trap through Democratic Political Culture : Towards more Sustainable New Path.”. In The International Conference between Department of Sociology, Graduate School of Humanities and Social Sciences, University of the Ryukyus and Department of Sociology and Anthropology, During February 21-22, 2016. -, Faculty of Humanities and Social sciences, Khon Kaen University.
5. Pornamrin Promgird. (2014). “Political Culture and Democracy Development.”. In The 1st KhonKaen University International Conference on Public Administration, Public Affairs Conference in Asean Community, During 28-29 August 2014. , Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
6. Pornamarin Promgird. (2014). “Thai Democracy Development : A Political Sociology Perspective”. In The 10th International Conference on Humanities and Social sciences, During 20-21 November, 2014. , Faculty of Humanities and Social Sciences Khon Kaen University, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     30     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (สังคมวิทยา)
415 991 Seminar in Socioloogy I
HS 477 991 Seminar in Sociology I
HS 477 996 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาเอก (รัฐประศาสนศาสตร์)
414 921 ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ขั้นสูง
414 992 ปรัชญาทางสังคมศาสตร์
       5.3 ระดับปริญญาโท (สังคมวิทยา)
415 713 Social Organization
       5.4 ระดับปริญญาโท (รัฐประศาสนศาสตร์)
414 701 ทฤษฎีและแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์
       5.5 ระดับปริญญาตรี (สังคมวิทยา)
415 214 Sociology of Organization
415 312 Political Sociology
415 335 Human Resource Development
415 376 ขบวนการสังคมและประชาสังคม
       5.6 ระดับปริญญาตรี (รัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย)
002 336 สังคมวิทยาการเมืองในการปกครองท้องถิ่น

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น