ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2549
ปริญญาตรี นศ.บ. (นิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประเทศไทย 2534
ปริญญาโท ค.ม. (การสอนภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2530
ปริญญาตรี ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเทศไทย 2528
ปริญญาตรี กศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ประเทศไทย 2527

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2564). ภาษากับการสื่อสารมวลชน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ธนพล เอกพจน์ และวิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2565). “กลวิธีทางภาษาในการนำเสนอภาพแทนความเป็นชาย แบบสปอร์โนเซ็กซ์ชวลในสื่อสังคมออนไลน์.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7 (3). หน้า 316-331.
2. วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา และปานปั้น ปลั่งเจริญศรี. (2565). “การวิเคราะห์ความไม่สุภาพเพื่อความบันเทิงของผู้ส่งเสริมการขายบนสื่อสังคมออนไลน์ในบริบทของไทย.” วารสารภาษา ศาสนา และวัมนธรรม, 11 (2). หน้า 54-75.
3. ณัฐพล ชารีรักษ์ และวิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2564). “การเลือกใช้ภาษาของวัยรุ่นผู้ไทในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11 (1). หน้า 1-24.
4. ณัฐพล ชารีรักษ์ และวิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2564). “ภาวะหลายภาษาของวัยรุ่นผู้ไทในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 11 (1). หน้า 54-80.
5. วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา และธนพล เอกพจน์. (2564). “กลวิธีทางภาษาในการโฆษณาอาหารเสริมสร้างกล้ามเนื้อสำหรับผู้ชาย.” วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 29 (3). หน้า 104-128.
6. ธนพล เอกพจน์ วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา และปานปั้น ปลั่งเจริญศรี. (2563). “[ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 คือ ศัตรู] : การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของคนไทย ตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน..” วารสารภาษาศาสนา และวัฒนธรรม, 9 (1). หน้า 1-37.
7. ธนพล เอกพจน์, วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2563). “ข้อผิดพลาดในการแต่งโคลงสี่สุภาพของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10 (3). หน้า 48-74.
8. สุภัคธัช สุธนภิญโญ, วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2563). “ปริจเฉทสุนทรพจน์อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติจากมุมมองวัจนปฏิบัติศาสตร์ : การศึกษาคำบอกเวลา.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10 (3). หน้า 95-113.
9. วราภรณ์ งอสอน, วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2562). “คุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ของคำว่า “สิ” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ , 9 (1). หน้า 132-152.
10. ธนพล เอกพจน์, วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2562). “[สิว คือ ข้าศึกศัตรู] : อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาในห้องสนทนาเกี่ยวกับความงามบนเว็บไซต์พันทิปดอทคอม.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 36 (1). หน้า 32-66.
11. วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2562). “การใช้ภาษาไทยในกระบวนการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติ.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 8 (2). หน้า 1-15.
12. วิไล พลพวก, อัญชลี สารรัตนะ, วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2560). “การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาไทยเพื่อส่งเสริมเชาวน์ปัญญา แห่งความสำเร็จสำหรับครูระดับประถมศึกษา.” วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11 (1). หน้า 153-164.
13. นีออน พิณประดิษฐ์, วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา, กิ่งฟ้า สินธุวงษ์, และมัลลวีร์ อดุลวัฒนศิริ. (2550). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพหุปัญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 20 (2). หน้า 227-245.
14. รัตนา จันทร์เทาว์ และวิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2550). “การศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวชนบทอีสาน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 24 (2). หน้า 71-92.
15. วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2550). “การสื่อสารภาษาในงานเขียนทางวิชาการ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 34 (2). หน้า 34-52.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Bilyu Yang and Wirat Wongpinunwatana. (2020). "Semantic Translation in Translation Chinese to Thai". Journal of Engineering and Applied Sciences, 15 (16). Page 3060-3066.
2. Bilyu Yang and Wirat Wongpinunwatana. (2019). "Figure of Speech in the Translation of the Book Sets of Common Knowledge about China". International Journal of Humanities, Arts and Social Sciences, 5 (5). Page 183-188.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. Wirat Wongpinunwatana. (2015). The Study of Articles and Features Writing for Public Relations in Printed Media. ในProceedings of The Symposium on Language and Sustainability in Asia (SOLSA 2015), จัดโดยHiroshima, Japan เมื่อวันที่1-3 April 2015.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Suthanaphinyo, S., Wongpinunwatana, W. & Sorthi, M. (2019). King of Kings: Presentation of the Heroic Image in Royal Ship Lyrics. In In the proceeding of The 15th International Conference on Humanities and Social Sciences 2019 (IC-HUSO 2019), During November 11-12, 2019. -, Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
2. Wirat Wongpinunwatana. (2016). Korean and Japanese Star Magazines: Language for Teenagers. In Proceedings of Taipei 7th International Conference on “Business, Economics, Social Science &Humanities;- BESSH-2016”, During 12-13 August 2016. Taipei, Taiwan.
3. Wirat Wongpinunwatana. (2016). Cross-Cultural Communication: Knowledge and Understanding of Chinese Students Majoring in Thai. In Proceedings of International Conference on Interdisciplinary Social Science Studies, During 4-6 July, 2016. The University of Cambridge, Newnham College, United Kingdom.
4. Wirat Wongpinunwatana. (2016). The State of Learning and Teaching Thai Language for Foreigners in Khon Kaen University. In Proceedings of The International Conference Commemorating the 50th Anniversary of the Department of Thai, During 27-29 October 2016. Hankuk University of Foreign Studies (HUFS) Seoul, Republic of Korea.
5. Wirat Wongpinunwatana. (2016). Characteristics of Message Exposure in Daily Life of Students. In International Conference on Interdisciplinary Social Science Studies (ICISSS Oxford), During 14-16 November 2016. , .

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     37     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรภาษาไทยมหาบัณฑิต)
416 891 สัมมนาทางภาษาและวรรณกรรมไทย
       5.2 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรภาษาไทยบัณฑิต)
416 212 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 2
416 222 ภาษากับการสื่อสารมวลชน
416 322 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
416 323 การสื่อสารกับการพัฒนา
416 325 การสื่อสารในงานประชาสัมพันธ์
416 411 สัมมนาภาษาและวรรณกรรมไทย
424 332 การใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
425 265 ภาษาไทยธุรกิจ
425 361 การพูดทางวิทยุและโทรทัศน์

6. ความเชียวชาญ : การใช้ภาษาไทย ภาษาสื่อสารมวลชน ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ หลักสูตรและการสอน

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น