ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก อ.ด.(ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2543
ปริญญาโท อ.ม.(ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2525
ปริญญาตรี ศศ.บ.(ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ประเทศไทย 2522

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2562). ความสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-เวียดนาม ค.ศ.1353-1975. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พิษณุวัฒน์ ยาพรม และดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2565). “การจัดการชายแดนไทย-กัมพูชาของรัฐไทยเหนือพื้นที่ปราสาทสด๊กก๊อกธม พ.ศ. 2534-2563: การย้ำสิทธิ์ การบูรณะและการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว.” วารสารการเมืองการปกครอง, 12 (1). หน้า 21-40.
2. กุลวดี สมัครไทย, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ และ เวียงคํา ชวนอุดม. (2564). “พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนสมัยโบราณในพื้นที่ระหว่างลุ่มแม่น้ําเลยถึงห้วยน้ําโมงช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 14 จากหลักฐานทางโบราณคดี.” วารสารไทยคดีศึกษา, 18 (2). หน้า 81-113.
3. XuYin Liu, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, เบญจวรรณ นาราสัจจ์. (2562). “การอพยพของชาวยูนนานเข้าสู่เวียดนามตั้งแต่สมัยโบราณถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19.” มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36 (1). หน้า (มกราคม-เมษายน),245-270.
4. Dan Ting Li, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, เบญจวรรณ นาราสัจจ์. (2561). “วีรชนในแบบเรียนประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของจีนปัจจุบัน.” วารสารภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม, 7 (2). หน้า (กรกฎาคม-ธันวาคม), 251-272.
5. ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2554). “วีรชน ลาว : กรณีศึกษาผ่านงานเขียนประเภทชีวประวัติช่วง ค.ศ.1986-2010.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 28 (2). หน้า 123-149.
6. ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2552). “การเขียนประวัติศาสตร์การสงครามระหว่างสยามกับเต็ยเซิน ค.ศ. ๑๗๘๓-๑๗๘๕.” ศิลปวัฒนธรรม, 30 (9). หน้า 86-105.
7. ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2549). “การแต่งงานข้ามวัฒนธรรม: ไทยกับ ฝรั่ง ในประวัติศาสตร์สังคมสยาม.” ศิลปวัฒนธรรม, 27 (5). หน้า 78-92.
8. XuYin Liu, Dararat Mattariganond and Benjawan Narasaj. (2019). “Migration of Yunnan People into Myanmar from Ancient Times to the 19th Century.” Journal of Mekong Societies, 15 (1). หน้า (January-April),18-39.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     41     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา)
400 899 Thesis
HS 857 101 Socio-Economic and Political Development of Countries In The Mekong Region
HS 857 104 Research Methodology for Mekong Studies
HS 857 203 Historiography in the Mekong Region
HS 857 891 Seminar in Mekong Studies
HS 857 899 Thesis
       5.2 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา และรายวิชาโทประวัติศาสตร์)
418 213 Southeast Asian History from Early Times To Colonial Period
418 310 Historical Method
428 111 History of Southeast Asia I
428 331 History and Documentary
428 491 Seminar in Southeast Asian Studies
428 495 Cooperative Education in Southeast Asian Studies

6. ความเชียวชาญ : ประวัติศาสตร์​ลาว​ อีสาน​ ฯลฯ

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น