ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก PhD. (Social and Cultural Anthropology) Vrije University Amsterdam, Netherlands 2556
ปริญญาโท MA. (Sociology) University of Guelph, Ontario Canada 2536
ปริญญาโท วท.ม. (ส่งเสริมการเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย 2527
ปริญญาตรี วท.บ. (ศึกษาศาสตร์-เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย 2525

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2562). ผู้หญิงในประวัติศาสตร์สังคมสยาม: การเมือง การแต่งงาน และการค้ามนุษย์.. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2561). เอกสารประกอบการสอนวิชา เพศภาวะกับการพัฒนาสังคม. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น.
3. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2558). วัฒนธรรมคืออำนาจ ปฏิบัติการแห่งอำนาจ ตัวตน และชนชั้นใหม่ ในพื้นที่วัฒนธรรม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
4. พัชรินทร์ ลาภานันท์, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ และ เยาวลักษณ์ อภิชาตวัลลภ. (2550). การแต่งงานข้ามวัฒนธรรม:การศึกษาสถานภาพองค์ความรู้. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. Lapanu, P. (2019). Money and Obligation: Transnational Marriage in a Northeastern Thai Village. Singapore: NUS Press.

3.2 งานวิจัย    
1. พัชรินทร์ ลาภานันท์ และ Eric Thompson. (2560). ความเป็นชาย ความสัมพันธ์หญิงชาย และการแต่งงานข้ามชาติ. ขอนแก่น: คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. Rungmanee, S., Sautouky, S., Myar, Maw Thoe Myar, and Lapanun, P. (2021). Migration and Women’s Land Tenure Security in the Greater Mekong Sub-Region Case studies from Thailand, Lao PDR and Myanmar. Chiang Mai: RCSD, Thailand. ().
3. Soimart, R., Lapanun, P., Sautouky, S. and Maw Thoe Myar. forthcoming. (2019). Migration and women’s land tenure rights and security in the Greater Mekong Sub-Region Case studies from Thailand, Lao PDR and Myanmar. Bangkok: FOA, Thailand. ().
4. Patcharin Lapanun and Keeratiporn Jutaviriya. (2013). Livelihood Transformations and Globalization: A Case Study of Integrated Agriculture in Northeast Thailand. Khon Kaen: the Center for Research on Plurality in the Mekong Region, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.. ().
5. Patcharin Lapanun. (2013). Logics of Desire and Transnational Marriage Practices in a Northeastern Thai Village. Amsterdam, Netherlands : PhD Dissertation, Vrije University Amsterdam, the Netherlands. ().
6. Patcharin Lapanun, Barbara Earth, et.al., . (2012). Village-based Silk Production in Transition, Northeast Thailand. Bangkok: White Lotus. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ลักษมี แก้ววงศ์ใหญ่ พัชรินทร์ ลาภานันท์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2565). “ชาวบ้านอีสาน กับ “วัฒนธรรมการย้ายถิ่น”.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22 (2). หน้า 152-178.
2. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2564). “กระบวนการพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา: บริบทพื้นที่ที่มีการแต่งงานข้ามชาติ.” วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 0 (38). หน้า -.
3. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2564). “ชาวบ้านอีสาน กับ “วัฒนธรรมการย้ายถิ่น”.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 0 (2). หน้า -.
4. จตุพร ดอนโสม พัชรินทร์ ลาภานันท์ รัชนก ชำนาญมาก. (2563). “ทุนทางสังคมของชุมชนชายแดน รัฐจัดตั้ง บนพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา.” วารสารปาริชาต , 33 (3). หน้า 70–84.
5. ญดา สว่างแผ้ว พัชรินทร์ ลาภานันท์ และ รักชนก ชำนาญมาก. (2562). “ระบบโควตาอ้อยกับความสัมพันธ์ แบบ อุปถัมภ์: แรงงานตัดอ้อย ลุกไร่ และหัวหน้าโควตา.” วารสารพื้นถิ่น โขง ชี มูล , 5 (2). หน้า 125-158.
6. ภควดี ทองชมภูนุช และ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2562). “บ้าน” ของชาวมอญวังกะ: ความหมายและเงื่อนไขเบื้องหลัง การให้นิยาม.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 37 (2). หน้า 173-203.
7. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2561). “การแต่งงานและการย้ายถิ่นข้ามชาติ: กรอบการศึกษาและสถานะองความรู้.” วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา , 37 (1). หน้า 9-42.
8. ภควดี ทองชมภูนุช และ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2561). “การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์: อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ มอญและการ สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 14 (3). หน้า 102-124.
9. คนึงนิจ พรมนัส และ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2560). “การต่อรอง ปฏิบัติการในชีวิตประจำวัน และอำนาจในตลาด ชายแดนไทย-กัมพูชา กรณีศึกษาแรงงานเข็นรถรับจ้างขนสินค้าชาวกัมพูชา ตลาดโรงเกลือ อำเภออรัญ ประเทศ จังหวัดสระแก้ว.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 13 (3). หน้า 151-176.
10. อำไพ หมื่นสิทธิ์ มณีมัย ทองอยู่ และ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2560). “แม่วัยรุ่น “ผู้กระทำการ”: ฮาบิตุส ทุน และปฏิบัติการในครอบครัว.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 13 (3). หน้า 101-128.
11. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2558). ““เมียฝรั่ง: การก่อตัวขอ “ชนชั้น” ใหม่ในสังคมไทย.”.” วัฒนธรรมคืออำนาจ ปฏิบัติการแห่งอำนาจ ตัวตน และชนชั้นใหม่ ในพื้นที่วัฒนธรรม, ชูศักดิ์ วิทยาภัค (บรรณาธิการ), 0 (0). หน้า เชียงใหม่: CESD และ RCSD มหาวิทยาลัยเชียงใหม่..
12. กีรติพร จูตะวิริยะ และ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2557). ““เกษตรผสมผสาน: ยุทธศาสตร์การดำรงชีพของเกษตรกรอีสานภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (3). หน้า 25-48.
13. Muensit, A., Thougyou, M. and Lapanun, P. (2019). “Problems and Practices of Teen Mothers at School in Khon Kaen Province, Thailand.” Journal of Mekong Society , 15 (3). หน้า 27-51.
14. Muensit, A., Thougyou, M. and Lapanun, P. (2019). “Problems and Practices of Teen Mothers at School in Khon Kaen Province, Thailand.” Journal of Mekong Society , 15 (3). หน้า 27-51.
15. E.C. (2018). “Masculinity, Matrilneality and Transnational Marriage.” Journal of Mekong Society , 14 (2). หน้า 1-19.
16. Patcharin Lapanun. (2012). ““It’s Not Just about Money: Transnational Marriage of Isan Women.” Journal of Mekong Society, 8 (3). หน้า 1-28.
17. Lapanun, P. (2012). “It’s Not Just about Money: Transnational Marriage of Isan Women.” Journal of Mekong Society , 8 (3). หน้า 1-28.
18. สิทธิวัฒน์ นาโสก พัชรินทร์ ลาภานันท์ รัชนก ชำนาญมาก. (0). “การผลิตเมล็ตพันธุ์พืชภายใต้ระบบ เกษตรพันธสัญญา: กับดัก หรือทางรอดของเกษตรกร.” วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา , 39 (1). หน้า .
19. สุภกาญจน์ แสนคำ รักชนก ชำนาญมาก และ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (0). “ความหวัง ความฝัน ความหลัง ของผู้ประกอบการไทยข้ามแดน.” วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา , 38 (2). หน้า .

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2565). "Complex Citizenship from Below among Cross-border Families in a Thai-Lao Border Community". ๋Journal of Mekong Societies, 0 (1). Page 198-223.
2. Laksamee Kaewwongyai, Patcharin Lapanun and Panu Suppatkul. (2021). "Desire and international migration of isan villagers". Journal of Mekong Societies, 17 (2). Page 140-160.
3. Donsom, J., Lapanun, P. and Chumnanmak, R. (2020). "Practices and Acquisition of Rights to Land in a State-Established Community on the Thai-Cambodia Border". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 12 (8). Page 53-72.
4. Muensit, A., Thougyou, M. and Lapanun, P. (2019). "Practice of Everyday Life of Teen Mothers: Their Use of Habitus and Symbolic Power in the Community". Kasetsart Journal of Social Sciences , 40 (1). Page 186-192.
5. Lapanun, P. (2018). "Masculinity, Marriage and Migration: Farang Migrant Men in Thailand". Asian Journal of Social Sciences , 46 (0). Page 111-131.
6. Rachanok Chamnanmak, Yaowalak Apichatvullop and Patcharin Lapanun. (2016). "“Border Trade Area: Social Networks and Power Relations of the Thai-Lao PDR Trade System.”". The Social Sciences, 3 (11). Page 317-323.
7. Chumnanmak, R., Apichatvullop, Y. and Lapanun, P. (2016). "Border Trade Area: Social Networks and Power Relations of the Thai-Lao PDR Trade System". The Social Sciences , 3 (11). Page 317-323.
8. Patcharin Lapanun. (2012). "“Social Relations and Tensions in Transnational Marriage for Rural Women in Isan Thailand.”". The Family in Flux in Southeast Asia: Institution, Ideology, Practice.eds. Yoko Hayami, Junko Koizumi, Chalidaporn Songsampan and RatanaTosakul. Chiang Mai: Kyoto University and Silkworm Books, 0 (0). Page 483-503.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2559). ฝรั่งในอีสาน: สงคราม การท่องเที่ยว และการแต่งงานข้ามชาติ. ในบทความเสนอใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิถีชาติพันธุ์อีสาน: “ภาวการณ์กลายเป็น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่, จัดโดยคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่7-8 เมษายน 2559.
2. อำไพ หมื่นสิทธิ์ มณีมัย ทองอยู่ และ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2558). ทุนทางสังคม: พลังขับเคลื่อนปฏิบัติการความเป็นแม่ของแม่วัยรุ่น. ในการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 14 เท่ากันแต่ไม่เท่าเทียม: ความเป็นธรรมทางสังคมในศตวรรษที่ 21, จัดโดยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่25-26 มิถุนายน.
3. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2556). “การแต่งงานข้ามชาติ กับ พลวัตท้องถิ่น.”. ในการสัมมนา วิชาการประจำปี “อีสาน-ลาว-ขแมร์ ศึกษาในกรอบประชาคมอาเซียน., จัดโดยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อวันที่ระหว่างวันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2556, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
4. พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2555). “Motivations and the Logics of Desire: Transnational Marriages of Women in an Isan Village.”. ในการประชุมวิชาการระดับชาติมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 8, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ระหว่างวันที่ 8-9 พฤศจิกายน 2555, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น..

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Lapanun, P. (2019). Transnational Marriage and Overseas Migration: Imaginaries and Refiguring the Future Wellbeing and Social Mobility in Thailand. In The EuroSEAS Conference, During September 10-13. Humboldt University, Berlin.
2. Pakawadee Thongchompunuch, Patcharin Lapanun. (2017). “A Diasporic Community and Tourism: Economic Opportunity and Ethnic Identity Preservation.”. In A paper in Global Conference on Business and Social Sciences, During May 4-5. , Kuala Lumpur, Malaysia.
3. Lapanun, P. (2017). Transnational Marriages, Thai Men and Masculine Anxieties. In The 13 International Conference on Thai Studies “Globalize Thailand? Connectivity, Conflict, and Conundrums of Thai Studies, During July 15-18. Chiang Mai University, Chiang Mai.
4. Nasok, S., Lapanun, P. and Chamnanmak, R. (2017). Contact Farming: Choice or Ttrap” for Farmers. In The 13 International Conference on Thai Studies “Globalize Thailand? Connectivity, Conflict, and Conundrums of Thai Studies, During July 15-18. Chiang Mai University, Chiang Mai.
5. Kanuengnit Promanus and Patcharin Lapanun. (2016). “Tactics and Negotiations and Everyday Life Practices of Cart Carriers at the Rong Kluea Market, Thai-Cambodia Border. In International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 14-15. , Khon Kaen University, Thailand.
6. Wataneenada Jongkaew and Patcharin Lapanun. (2016). “Transnational relations of Lao female Migrant Workers in Mukdahan Province.”. In International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 14-15. , Khon Kaen University, Thailand.
7. Ampai Muensit, Maniemai Thongyou and Patcharin Lapanun. (2016). “Teen Mothers: Problems and Practices in the Family at Khon Kaen Province.”. In International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 14-15. , Khon Kaen University, Thailand.
8. Patcharin Lapanun. (2015). “Mia Farang: The Multiple and Ambiguous Images.”. In the 11th International Conference on Humanities and Social Sciences: Challenge, Equity and Responsibility, During November 26-27. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University., Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University..
9. Pakawadee Thongchompunuch and Patcharin Lapanun. (2015). “Mon Diaspora and the Relationships with their Homeland.”. In The international conference on Burma/Myanmar Studies on “Burma/ Myanmar in Transition: Connectivity, Change and Challenges, During July 24-25. , Chiang Mai University.
10. Ampai Muensit, Maniemai Thongyou and Patcharin Lapanun. (2015). Motherhood Practices and Symbolic capital: A study of Teen Mothers in Northeastern Thailand. In The 17th International Conference on Social Sciences (The ICSS 2015), During August 6-7. , Amsterdam, The Netherlands.
11. Pakawadee Thongchompunuch and Patcharin Lapanun. (2015). “The War Cemetery and the War Museum: Politic of Memory of World War II.” . In The 11th International Conference on Humanities and Social Sciences: Challenge, Equity and Responsibility, During November 26-27. , Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
12. Kanuengnit Promanus and Patcharin Lapanun. (2014). “Border Market, an Area of Opportunity for Crat Carriers at the RongKluea Market, Thai-Cambodia Border.”. In The 10th International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 21-22. , Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
13. Wataneenada Jongkaew and Patcharin Lapanun. (2014). “Gender and Migration of Lao Women Migrant Worker in Mukdahan Province.”. In The 10th International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 21-22. , Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
14. Pakawadee Thongchompunuch and Patcharin Lapanun. (2014). “Mon Diasporas in Thailand and the Concepts of "home". In The 10th International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 21-22. , Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
15. Patcharin Lapanun. (2014). “Mia Farang: An Emerging Social Category in Thai Society.”. In The international conference on “Transforming Society: Contestations and Convergences in Asia and the Pacific, During February 15-16. organized by Asian Pacific Sociological Association (APSA), in conjunction with 50th Anniversary of the Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University.
16. Patcharin Lapanun. (2013). “Transnational Marriages: Local Daughter, Global Wife and Reinforcing of (Thai) Femininity.”. In The ICSSAM 2013 Conference, During August 8-10. , Bali, Indonesia.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     38     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 992 Seminar in Sociology II
415 997 Dissertation
HS 477992 Seminar in Sociology II
       5.2 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 710 Contemporary Sociological Theories
415 711 Critical social Theories
415 891 Seminar in Sociology
415 899 Thesis
415715 Qualitative Research Methodology
HS 467891 Seminar in Current Issues of Trans-disciplinary Social Sciences
HS 467898 Thesis
HS 857 103 Theoretical Concepts Related to Mekong Studies
HS 857 104 Research Methodology for Mekong Studies
HS467003 Qualitative Research Methodology
       5.3 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 271 Contemporary Sociological Theories
415 318 Gender and Society Development
415 347 Research Evaluation
415 375 Women and Informal Economic Development
415 411 Sociology of Sexuality
415 443 Participatory Action Research
HS 422110 English for Sociology and Anthropology
HS 423 207 Gender, Culture and society
HS 423117 Sociology of Sexuality
HS 423405 Research Evaluation

6. ความเชียวชาญ : มานุษยวิทยา

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น