ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2559
ปริญญาโท ศศ.ม. (สังคมวิทยาการพัฒนา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2554
ปริญญาตรี ศศ.บ. (การจัดการพัฒนาสังคม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2552

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ดุษฎี อายุวัฒน์ วณิชชา ณรงค์ชัย อดิเรก เร่งมานะวงษ์ และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2563). ครัวเรือนแรงงานอีสานย้าย ถิ่น: การดำรงชีพและความสุข. ขอนแก่น: โปรก๊อปปี้.
2. ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2562). หลักสูตรการเสริมสร้างศักยภาพสตรีและครอบครัวอีสานที่สมรสกับชาวต่างชาติ ก่อนการย้ายถิ่นไปต่างประเทศ เพื่อป้องกันการค้ามนุษย์. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
3. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 415346 เทคนิคการจัดการข้อมูลวิจัย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2564). ความสุขของผู้สูงอายุพิการ: ยุทธศาสตร์การดำรงชีพเพื่อสร้างสุขสำหรับผู้สูงอายุพิการ ในเมืองอัจฉริยะขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น . (ทุนวิจัยประจำปีงบประมาณเงินรายได้ พ.ศ. 2563 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
2. สุมนา ราษฎร์ ภักดี และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2564). โครงการการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อผึ่งร่วมบึงประดิษฐ์เพื่อนำน้ำที่ผ่านการบำบัดไปใช้ในการเกษตร (บริษัท ป.รุ่งเรือง แลนด์ ดีเวลอปเม้น จำกัด. ขอนแก่น: โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเครือข่ายมหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (32 หน้า).
3. วณิชชา ณรงค์ชัย ภัทรพร วีระนาคินทร์ กิตติยา สุทธิประภา ปิยพร ศิริปรีชาพันธุ์ และกฤตนน เดชาโชติช่วง. (2564). การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของอำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น . ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (ทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2563 ในโครงการวิจัยรูปแบบแผนบูรณาการวิจัย บูรณาการเชิงพื้นที่ จากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 107 หน้า).
4. ดุษฎี อายุวัฒน์ จงรักษ์ หงษ์งาม วณิชชา ณรงค์ชัย สุภีร์ สมอนา เกรียงไกร ผาสุตะ กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ สมโภชน์ ถิ่นปรุ ขวัญนคร สอนหมั่น และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2563). สภาวะความสุขคนทำงานในมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ภายใต้ โครงการพัฒนากระบวนการและรูปแบบการสร้างสุขระดับองค์กร สู่องค์กรสุขภาวะ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น และเครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน สนับสนุนโดยสำนักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร (สำนัก 8) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
5. ดุษฎี อายุวัฒน์ วณิชชา ณรงค์ชัย และพิมพิไล แสงทัพ. (2562). การประเมินผลโครงการทำตามพ่อ ปลูกเพ(ร)าะสุข. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนการวิจัยโดย กลุ่มมิตรผล (บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด).
6. ดุษฎี อายุวัฒน์ จงรักษ์ หงส์งาม เกศินี สราญฤทธิชัย รักชนก ชำนาญมาก และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2562). ความสุขในชีวิต ของผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย (Life Happiness of Elderly People in the Northeast, Thailand). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนการวิจัยโดย โครงการ จากคณะกรรมการดำเนินงานจัดสรรทุนวิจัยแบบบูรณาการประเภทกำหนดกลุ่มเรื่อง ประจำปี 2560 ของกองบริหาร งานวิจัย สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
7. ดุษฎี อายุวัฒน์ จงรักษ์ หงษ์งาม วณิชชา ณรงค์ชัย สุภีร์ สมอนา เกรียงไกร ผาสุตะ สมโภชน์ ถิ่นปรุ กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ ขวัญนคร สอนหมั่น และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2562). การพัฒนากระบวนการและรูปแบบการสร้างสุขระดับองค์กร สู่องค์กรสุขภาวะ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และเครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนการวิจัยโดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ).
8. รักชนก ชำนาญมาก และวณิชชา ณรงค์ชัย.. (2562). โครงการการบูรณาการการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน ท้องถิ่น เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิมั่นพัฒนา. (สัญญาเลขที่ RDC5940004-(103) ได้รับการสนับสนุนจาก ทุนพัฒนานักวิจัยสู่ ตำแหน่งวิชาการเพื่อชุมชนและสังคม รุ่น 1 (SandM) ภายใต้ชุดโครงการ “การพัฒนานักวิจัยและระบบสนับสนุนนักวิจัยเพื่อชุมชนและสังคม).
9. วณิชชา ณรงค์ชัย ดุษฎี อายุวัฒน์ จงรักษ์ หงษ์งาม สุภีร์ สมอนา เกรียงไกร ผาสุตะ สมโภชน์ ถิ่นปรุ กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ ขวัญนคร สอนหมั่น และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2562). CIPP Model กับงานสร้างสุขใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: รายงานประเมินผลโครงการการพัฒนากระบวนการและรูปแบบการสร้างสุขระดับ องค์กร สู่องค์กรสุขภาวะ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และเครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ภายใต้โครงการพัฒนากระบวนการ และรูปแบบการสร้างสุขระดับองค์กร สู่องค์กรสุขภาวะ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และเครือข่ายภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน สนับสนุนโดยสำนักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร (สำนัก 8) สำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
10. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2562). แนวทางการจัดการน้ำเสียระดับชุมชนเมืองเขตเทศบาลเมืองกระนวน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ทุนวิจัยประจำปี งบประมาณเงินรายได้ พ.ศ. 2562 ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น).
11. ดุษฎี อายุวัฒน์ วณิชชา ณรงค์ชัย และอดิเรก เร่งมานะวงษ์. (2561). ความสุขของครัวเรือนแรงงานย้ายถิ่นไป ทำงานต่างประเทศ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนการวิจัยโดย โครงการสนับสนุนทุนวิจัย ประจำปีงบประมาณ เงินรายได้ พ.ศ. 2560 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
12. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2559). โครงการสำรวจการรับรู้เรื่องสิทธิ หน้าที่ และความพึงพอใจในการดำเนินงาน หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สปสช. เขต 7 ขอนแก่น ประจำปี 2559. ขอนแก่น: สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 7 ขอนแก่น. (ทุนวิจัยโดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 7 ขอนแก่น).
13. กุลธิดา ท้วมสุข รัตนา จันทร์เทาว์ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล อิมรอน โสะสัน มานะ นาคำ ขวัญนคร สอนหมั่น และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2558). โครงการวิจัย ทัศนคติและความพึงพอใจของชุมชนต่อการดำเนินงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ของ บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนทุนวิจัยโดย บริษัท ปตท.สำรวจและผลิต ปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน).
14. ดุษฎี อายุวัฒน์ วณิชชา ณรงค์ชัย และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2558). โครงการวิจัย ทัศนคติและความผูกพันของ พนักงานต่อบริษัท ฟินิคซพัลพแอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากบริษัทฟินิคซพัลพแอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน).
15. ดุษฎี อายุวัฒน์ วณิชชา ณรงค์ชัย และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2558). โครงการวิจัย การปฏิบัติตามหลักความ ปลอดภัยในองค์กร ระดับโรงงาน: กรณีศึกษา บริษัท ฟินิคซพัลพแอนด์ เพเพอร์จำกัด (มหาชน). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก บริษัทฟิ นิคซพัลพแอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน).
16. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2558). การประเมินผลโครงการ โครงการเผยแพร่การสร้างความรู้ความเข้าใจในหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้าโดยเครือข่ายวิทยุชุมชน ปีงบประมาณ 2558. ขอนแก่น: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 7 ขอนแก่น. (ทุนวิจัยโดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 7 ขอนแก่น).
17. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2558). โครงการสำรวจการรับรู้เรื่องสิทธิ หน้าที่ และความพึงพอใจในการดำเนินงาน หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สปสช. เขต 7 ขอนแก่น ประจำปี 2558. ขอนแก่น: สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 7 ขอนแก่น. (ทุนวิจัยโดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 7 ขอนแก่น).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ปิยะดา แนวประเสริฐ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2566). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการจัดการความเสี่ยงของครัวเรือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ View at publisher.” วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 10 (2). หน้า 239-268.
2. กิตติยา สุทธิประภา, วณิชชา ณรงค์ชัย, ภัทรพร วีระนาคินทร์, ปิยพร ศิริปรีชาพันธุ์, กฤตนน เดชาโชติช่วง, และนุชนารถ สมควร. (2565). “ทักษะการรู้ดิจิทัลเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 40 (1). หน้า 42-55.
3. วณิชชา ณรงค์ชัย, จิตติมา พัฒนธนาภา, และมนตรี ประเสริฐรุ่งเรือง. (2565). “ยุทธศาสตร์การดำรงชีพเพื่อสร้างสุขสำหรับผู้สูงอายุพิการ ในเมืองอัจฉริยะขอนแก่น.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 16 (3). หน้า 142-153.
4. ภัทรพร วีระนาคินทร์, วณิชชา ณรงค์ชัย, กิตติยา สุทธิประภา, ปิยพร ศิริปรีชาพันธุ์, และกฤตนน เดชาโชติช่วง. (2565). “ความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22 (1). หน้า 1-14.
5. นุชนารถ สมควร, รักชนก ชำนาญมาก, และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2564). “เศรษฐศาสตร์การเมือง กับการเปลี่ยนแปลงค่านิยมอุดมการณ์สู่การกลายเป็นเกษตรกรผู้ประกอบการ.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21 (2). หน้า 216-247.
6. จงรัก หงส์งาม รัชนี ปิยะธำรงชัย รัฐทิพย์ นิรานนท์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2564). “Factors affecting marriages between Thai women and foreign men: A case study of Thailand.” วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 8 (1). หน้า 72-82.
7. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2563). “การจัดการน้ำเสียระดับชุมชนเมืองเขตเทศบาลเมืองกระนวน จังหวัดขอนแก่น.” วารสารพื้นถิ่น โขง ชี มูล, 6 (1). หน้า .
8. วณิชชา ณรงค์ชัย. (2563). “การจัดการน้ำเสียระดับชุมชนเมืองเขตเทศบาลเมืองกระนวน จังหวัดขอนแก่น.” ;วารสารพื้นถิ่นโขง ชี มูล, 6 (1). หน้า 187-213.
9. ดุษฎี อายุวัฒน์ จงรักษ์ หงษ์งาม เกศินี สราญฤทธิชัย รักชนก ชำนาญมาก วณิชชา ณรงค์ชัย และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2562). “ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 8 (1). หน้า 136-155.
10. วณิชชา ณรงค์ชัย และรักชนก ชำนาญมาก. (2562). “ทุนในการดำรงชีพของครัวเรือนเกษตรกรเขตเมือง อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 11 (1). หน้า 179-203.
11. วัฒนชัย ขวาลำธาร, ดุษฎี อายุวัฒน์, วณิชชา ณรงค์ชัย. (2562). “องค์ประกอบความสุขของครอบครัวข้ามรุ่นในชนบทอีสาน.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7 (3). หน้า 103-115.
12. ดุษฎี อายุวัฒน์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2561). “ความคาดหวังต่อการใช้ชีวิตกับสามีชาวต่างชาติ ในถิ่นปลายทาง ของสตรีอีสาน.” วารสารราชพฤกษ์, 16 (2). หน้า 79-86.
13. รักชนก ชำนาญมาก ดุษฎี อายุวัฒน์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2561). “องค์ประกอบความสุขของผู้สูงอายุในชนบทภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ: พลวัตการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในกระแสโลกาภิวัตน์.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (2). หน้า 90-116.
14. ดุษฎี อายุวัฒน์ วณิชชา ณรงค์ชัย และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2560). “ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน : กรณีศึกษา โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.” วิศวกรรมสาร มก. 101, 30 (0). หน้า 29-40.
15. ดุษฎี อายุวัฒน์, วณิชชา ณรงค์ชัย, ณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2560). “ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน: กรณีศึกษา โรงงานอุตสาหกรรมเเห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.” วิศวกรรมสาร มก, 30 (101). หน้า 29-40.
16. ดุษฎี อายุวัฒน์ ปนัดดา ภู่เจริญศิลป์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2559). “ปฏิบัติการของชุมชนเพื่อลดความเสี่ยงภัย พิบัติ กรณีศึกษาน้ำป่าไหลหลากดินโคลนถล่มจังหวัดนครศรีธรรมราช.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 8 (1). หน้า 199-220.
17. วณิชชา ณรงค์ชัย และรักชนก ชำนาญมาก. (2559). “ทุนในการดำรงชีพของครัวเรือนเกษตรกรเขตเมือง อำเภอ กระนวน จังหวัดขอนแก่น.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 11 (1). หน้า 199-220.
18. ดุษฎี อายุวัฒน์, วณิชชา ณรงค์ชัย. (2557). “ทัศนคติของพนักงานต่อโรงงานฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ (น้ำพอง).” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 31 (2). หน้า 119-136.
19. ดุษฎี อายุวัฒน์, วณิชชา ณรงค์ชัย. (2556). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเข้าใจเรื่องสิทธิแรงงานของแรงงานนอกระบบ ในชนบทจังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 30 (1). หน้า 17-50.
20. ดุษฎี อายุวัฒน์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2555). “การประเมินผลการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดอุดรธานีและจังหวัดขอนแก่น) กรณีผู้จำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์.” วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5 (1). หน้า 55-68.
21. วณิชชา ณรงค์ชัย และดุษฏี อายุวัฒน์. (2554). “รูปแบบการอยู่อาศัยร่วมกันของคนข้ามรุ่นในครอบครัวผู้ย้ายถิ่นอีสาน.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 11 (3). หน้า 101-110.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Somkaun, N., Chumnanmak, R. and Narongchai, W. (2021). "The Roles of Stakeholders and Social Networks in Becoming Farmer-entrepreneurs". Journal of Mekong Societies, 17 (3). Page 121-147.
2. Narongchai, W. (2021). "Factors Influencing Happiness of the Disabled Elderly in Khon Kaen Smart City". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 15 (8). Page 1040-1055.
3. Phutthanathanapa, C., Narongchai, W. and Chumnanmak, R. (2020). "The Utilization of the Naga Sign in the Special Economic Zone of Mukdahan Province, Thailand". Journal of Mekong Societies, 16 (2). Page 116-142.
4. Ayuwat, D., Hong-Ngam, J., Saranrittichai, K., Chumnanmak, R, Narongchai, W., and Auraiampai, N. (2019). "What factors contribute to life happiness of Ageing, Northeast Thailand". International Journal of Recent Technology and Engineering, 8 (12). Page 346-351.
5. Ayuwat, D., Narongchai, W., Rengmanawong, A. and Auraiampai, N. (2019). "Factors Influencing the Happiness of Migrant Labour Households in the Northeast, Thailand". International Journal of Recent Technology and Engineering, 8 (12). Page 875-883.
6. Hong-ngam, et al. (2019). "Happiness and Engagement in Relation to Gender". International Journal of innovation, creativity and change, 10 (9). Page 112-132.
7. Somkaun, N., Chumnanmak, R., and Narongchai, W. (2019). "The Transformation from Farmer to Entrepreneur in Khon Kaen Province, Thailand". Journal of Mekong Societies, 15 (3). Page 95-120.
8. Ayuwat, D., Narongchai, W., Rengmanawong, A., and Auraiampai, N. (2018). "Happiness perspective of migrant labor households in the northeast, Thailand". International Journal of Engineering and Technology (UAE), 7 (2). Page 91-96.
9. Ayuwat, D., Narongchai, W. and Auraiampai, N. (2016). "Factors Influencing Engagement of Employees Towards Phoenix Pulp and Paper Public Co., Ltd". International Journal of Applied Business and Economic Research (IJABER), 14 (11). Page 7387-7396.
10. Narongchai, W, Ayuwat, D. and Chinnasri, O. (2016). "The Changing of Intergenerational Transfers of Economic Capital in Rural Households in Northeastern, Thailand". Kasetsart Journal (Social Sciences), 37 (2). Page 46-52.
11. Narongchai, W., Ayuwat, D. and Chinnasri, O. (2016). "Social Class of The Rural Household in the Northeast, Thailand". International Journal of Applied Business and Economic Research (IJABER), 14 (11). Page 7717-7736.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. นุชนารถ สมควร รักชนก ชำนาญมาก และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2563). เศรษฐศาสตร์การเมือง: การวิเคราะห์เงื่อนไขการกลายเป็นเกษตรกรผู้ประกอบการ ในจังหวัดขอนแก่น. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21. นำเสนอแบบปากเปล่า (Oral Presentation), จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่27 มีนาคม 2563 .
2. ดุษฎี อายุวัฒน์ จงรักษ์ หงษ์งาม เกศินี สราญฤทธิชัย รักชนก ชำนาญมาก วณิชชา ณรงค์ชัย ณัฐวรรธ อุไรอำไพ และสร้อยบุญ ทรายทอง. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีพของผู้สูงอายุอีสาน ประเทศไทย. ในการประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2562, จัดโดยสมาคมนักประชากรไทย และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่22 พฤศจิกายน 2562.
3. จิตติมา พัฒนธนาภา วณิชชา ณรงค์ชัย และรักชนก ชำนาญมาก. (2562). พญานาค: พัฒนาการความเชื่อในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดมุกดาหาร. ในโครงการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 18, จัดโดยคณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน) เมื่อวันที่28 พฤษภาคม 2562.
4. นุชนารถ สมควร รักชนก ชำนาญมาก และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2562). จากเกษตรกรสู่ผู้ประกอบการ:การก่อตัวและรูปแบบการผลิตทางการเกษตร. ในโครงการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 18, จัดโดยคณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน) เมื่อวันที่28 พฤษภาคม 2562.
5. วณิชชา ณรงค์ชัย ดุษฎี อายุวัฒน์ และอรนัดดา ชิณศรี. (2559). เกณฑ์พิจารณาชนชั้นทางสังคมของครัวเรือนชนบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย. ในการประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2559, จัดโดยสมาคมนักประชากรไทย เมื่อวันที่18 พฤศจิกายน 2559.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Narongchai, W., Ayuwat, D. and Chumnanmak, R. (2019). The Guideline for Creating Happiness for Elderly Persons in Northeastern Thailand. In In TASS International Conference on Advancement in Economics Management Studies, Humanities and Social Science, During August 06-07, 2019. Venue: The Howard Plaza Hotel Taipei, Taiwan.
2. Phutthanathanapa, C. Narongchai, W. and Chumnanmak, R. (2019). The Symbolic Utilization of Naga in Special Economic Zone, Mukdahan Province, Thailand. In TASS International Conference on Advancement in Economics Management Studies, Humanities and Social Science, During August 06-07, 2019. Venue: The Howard Plaza Hotel Taipei, Taiwan.
3. Somkaun, N., Chumnanmak, R. and Narongchai, W. (2019). Formation and Process of Becoming Farmer-entrepreneur. In In TASS International Conference on Advancement in Economics Management Studies, Humanities and Social Science, During August 06-07, 2019. Venue: The Howard Plaza Hotel Taipei, Taiwan.
4. Auraiampai, N., Ayuwat, D. and Narongchai, W. (2018). Factor Influence to Happiness of the Northeastern Rural Households that Have Overseas Migrating Labourers, Thailand. In In 9th NEU-KKU International Conference on Socio-Economic and Environmental Issues in Development, During May 11-12, 2018. National Economics University, Vietnam.
5. Ayuwat, D., Narongchai, W., and Auraiampai, N. (2018). Factors Associated to Happiness of the International Migrant Households in Rural Northeastern Thailand. In . In 9 th NEU-KKU International Conference on Socio-Economic and Environmental Issues in Development, During May 11-12, 2018. National Economics University, Vietnam.
6. Chumnanmak, R., Ayuwat D., and Narongchai, W. (2018). Elements of Happiness of the Elders in Rural Area of the Northeast, Thailand. In In 2nd Japan International Conference on Business, Management Studies and Social Science , During September 30-31, 2018. Research Synergy Foundation, Japan.
7. Kwalamthan, W., Ayuwat D., and Narongchai, W. (2018). Skipped-Generation Families: Economic Happiness in Rural North-Eastern Thailand. In In 2nd Japan International Conference on Business, Management Studies and Social Science , During September 30-31,2018. Research Synergy Foundation, Japan.
8. Kwalamthan, W., Ayuwat, D. and Narongchai, W. (2018). SKIPPED-GENERATION FAMILIES: Rural Life in the Northeast of Thailand. In In 9 th NEU-KKU International Conference on Socio-Economic and Environmental Issues in Development, During May 11-12, 2018. National Economics University, Vietnam.
9. Narongchai, W. and Chumnanmak, R. (2018). The Opportunity and Limitation of Livelihood Capitals of an Urban Agricultural. In In 2nd Japan International Conference on Business, Management Studies and Social Science , During September 30-31, 2018. Research Synergy Foundation, Japan.
10. Narongchai, W., Ayuwat, D. and Rengmanawong, A. (2018). Capital Utilization and Happiness of Labour Migrant Households, Thailand. In In International Conference on Future of Women ’18: “A Prospect for Greater Vision, During 06th – 07th February, 2018. Kuala Lumpur, Malaysia.
11. Phutthanathanapa, C., Narongchai, W. and Chumnanmak, R. (2018). Naga Beliefs in Isan: Buddhist and Brahmanical. In . In IC-HUSO 2018 International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 22-23, 2018. Faculty of Humanities and Social Sciences , Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
12. Somkaun, N., Chumnanmak, R. and Narongchai, W. (2018). Farmer as Entrepreneur: Political Economy Analysis Framework. In In IC-HUSO 2018 International Conference on Humanities and Social Sciences, During November 22-23, 2018. Faculty of Humanities and Social Sciences , Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
13. Ayuwat, D., Narongchai, W. and Auraiampai, N. (2017). Employee Satisfaction and Engagement: Factors Related to Engagement of Employees: The Case of a Pulp and Paper Company. In In Twelfth International Conference on Interdisciplinary Social Sciences, Special Focus: Cross- Cultural and Global Research as Interdisciplinary Practice, During 26–28 July 2017. International Conference Center, Hiroshima, Japan.
14. Chumnanmak, R., Ayuwat, D., and Narongchai, W. (2017). Indigenous Knowledge Approaches to Dealing with Community Conflict: The Role of Peace in a Village's Community Justice Committee. In In Twelfth International Conference on Interdisciplinary Social Sciences, Special Focus: Cross-Cultural and Global Research as Interdisciplinary Practice, During 26–28 July 2017. International Conference Center, Hiroshima, Japan.
15. Narongchai, W., Ayuwat, D. and Chumnanmak, R. (2017). Community-based Inheritance of Local Culture : A Case Study of Wat Chai Sri Folk Museum in Khon Kaen, Thailand. In In Twelfth International Conference on Interdisciplinary Social Sciences, Special Focus: Cross- Cultural and Global Research as Interdisciplinary Practice, During 26–28 July 2017. International Conference Center, Hiroshima, Japan.
16. Narongchai, W., Ayuwat, D. and Chinnasr, O. (2016). Social Class Of The Rural Households In The Northeast, Thailand. In In International Research Conference on Management and Business (IRCMB), During 6 August 2016. Jakarta, Indonesia.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     7     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา)
HS 477 899 Thesis
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา)
HS 857 103 Theoretical Concepts Related to Mekong Studies
       5.3 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร์)
HS 467 899 Thesis
       5.4 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 100 Cross-Cultural Literacy
415 218 Social Organization and Social Control
415 240 Introduction of Sociological and Anthropological Research Methodology
415 343 Quantitative Research Methodology
415 346 Data Management Technique
415 347 Evaluation Research
415 434 Planning and Training for Human Resources Development
415 440 Principles of Community Analysis
415 495 Sociology and Anthropology Co-operative Education

6. ความเชียวชาญ : สังคมวิทยา หลักการวิเคราะห์ชุมชน พัฒนาสังคม การวิจัยเชิงปริมาณ

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น