ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Sociology) Kansas State University, U.S.A 2524
ปริญญาโท M.S. (Rural Sociology) Iowa State University,U.S.A. 2521
ปริญญาโท สค.ม.(สังคมวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2515
ปริญญาตรี สม.บ. (สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา) เกียรตินิยมดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2512

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. สมุทรปราการ: บริษัท ดี. เค.ปริ้นติ้ง เวิลด์ จำกัด.
2. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2552). สังคมวิทยาสุขภาพ: มิติทางสังคมและวัฒนธรรม. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2552). สังคมวิทยากลุ่มชาติพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2551). สังคมไทย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2551). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. สมุทรปราการ: บริษัท ดี. เค.ปริ้นติ้งเวิลด์ จำกัด.
6. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2551). การศึกษาสังคมและวัฒนธรรม: แนวความคิดวิธีวิทยาและทฤษฎี. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
7. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2550). สังคมวิทยาชนบท:แนวคิดทางทฤษฎีและแนวโน้มในสังคม. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.
8. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ :แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. สมุทรปราการ: โรงพิมพ์เดชกมลออฟเซท.
9. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2549). หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ: การวัด การรวบรวมการจัดการ การวิเคราะห์ และการเขียนรายงาน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น .
10. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2549). สังคมวิทยาความเป็นท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
11. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2549). หลักการวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
12. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2549). หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ: การวัด การรวบรวม การจัดการการ วิเคราะห์ และการเขียนรายงาน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
13. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2549). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์:แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. สมุทรปราการ: โรงพิมพ์เดชกมลออฟเซท.
14. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ.. สมุทรปราการ: โรงพิมพ์เดชกมลออฟเซท.
15. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2545). สังคมวิทยาสุขภาพ: มิติทางสังคมและวัฒนธรรม. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
16. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2545). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
17. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2544). การศึกษาสังคมและวัฒนธรรม: แนวความคิดวิธีวิทยาและทฤษฎี. ขอนแก่น: ภาควิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
18. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2543). คู่มือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: หลักการและการประยุกต์ใช้. ขอนแก่น: ภาควิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
19. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2543). สังคมและวัฒนธรรมไทย: ลักษณะการเปลี่ยนแปลงและวิทยาการวิจัย. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
20. Noriyuki, S. and Srisontisuk, S. (ed.). (2008). Civil Society Movement and Development in Northeast Thailand. KhonKaen: Printing House of KhonKaen University.
21. Sakurai, Y. and Srisontisuk, S. (ed). (2003). Regional Development in Northeast Thailand, and the Formation of Thai Civil Society. KhonKaen: KhonKaen University Press.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. อธิพงษ์ ภูมีแสง, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, ปัณณวิชญ์ นาคนทรง, ทินวุฒิ วงศิลา, ปรารถนา มะลิไทย, ยุทธพงษ์ จักรคม, Robby Rosandi. (2565). “เงื่อนไขและกระบวนการที่ก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการบริหารงานของ สมาคมไทย-เวียดนาม จังหวัดนครพนม.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 12 (2). หน้า 255-267.
2. วิลาสินี ชูทอง, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, ยุภาพร ยุภาศ. (2564). “รูปแบบความร่วมมือทางการบริหารเพื่อการพัฒนาข้าวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2.” วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, 12 (1). หน้า 41-53.
3. วิเชษฐ หลุดพา, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, ยุภาพร ยุภา. (2563). “แนวทางการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับการท่องเที่ยวในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง.” วารสารรามคำแหงฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 3 (3). หน้า 1-20.
4. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, อิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุ, จตุพร ดอนโสม, ประภาพร สุปัญญา, ตรียากานต์ พรมคำ. (2559). “ชีวิตเต่าชีวิตคน :การประกอบสร้างภาพลักษณ์ให้กับ “เต่า”ในฐานะ“สัตว์เลี้ยง ศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าปู่” ของชุมชนบ้านกอก ตำบลสวนหม่อน อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิชาการสังคมมนุษย์ คณะมนุษยศาสตร์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 6 (1 (มกราคม - มิถุนายน)). หน้า 72-93.
5. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม จริยา ชาตะสุวัจนานนท์ สิริกัญญา ค่ายหนอง สวง จารุกัญญา อุดานนท์ กรอาภา วงศ์เกษม พสุวดี พลพิชัย และคธาวุธ พลโคตร. (2558). “รูปแบบการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการติดตามตรวจสอบการดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านโครงสร้างพื้นฐาน: กรณีศึกษา เทศบาลตำบลห้วยโพธิ์อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์.” รมยสาร, 13 (1). หน้า 19-33.
6. อนุรักษ์ สิงห์ชัย วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2558). “พื้นที่ทางสังคมของแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่าใน จังหวัดสมุทรสาคร.” วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15 (2). หน้า 90-97.
7. กฤษณะ ทองแก้ว สมศักดิ์ ศรีสันติสุข และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2557). “เหวียตเกี่ยว : ครอบครัวเลื่อนชั้นเพราะหิ้งบูชาแผ่นดิน.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 6 (2). หน้า 157-174.
8. กฤษณะ ทองแก้ว สมศักดิ์ ศรีสันติสุข และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2557). “อำนาจชอบธรรมและสิทธิอำนาจในการเลื่อนชั้นทางสังคมของชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (3). หน้า 123-146.
9. สุภีร์ สมอนา มณีมัย ทองอยู่ และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2556). “กระบวนการสร้างกรอบโครงความคิดของกระบวนการเคลื่อนไหวต่อต้านเหมืองแร่ทองคำ.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9 (1). หน้า 29-44.
10. รัตนะ วรบัณฑิต และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2556). “ชีวิตนอกนำแพง : รูปแบบวัฒนธรรมรองเชิงบวกของเด็กที่ไม่กระทำความผิดซ้ำ.” วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 21 (2). หน้า 200-215.
11. โชติ ถาวร สมศักดิ์ ศรีสันติสุข โนริยุกิ ซูซูกิ และขนิษฐา นันทบุตร. (2556). “นโยบายการพัฒนา และผลกระทบต่อชุมชนอ่าวป่าคลอก จังหวัดภูเก็ต.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 13 (4). หน้า 88-99.
12. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2556). “การเปลี่ยนแปลงประชาคมหมู่บ้าน: การขยายตัวและความยั่งยืนในชุมชนบ้านคุ้ม ตำบลคูเมือง อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร.” วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 32 (1). หน้า 17-36.
13. เพชรา มักขุนทด และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2555). “การจัดการความรู้เรื่องผ้าฝ้ายทอมือของกลุ่มผ้าฝ้ายมัดหมี่ทอมือบ้านซับระวิง.” วารสารการบริหารท้องถิ่น, 5 (3). หน้า 13-28.
14. ปริญญา สร้อยทอง และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2555). “การศึกษาแบบการบริหารจัดการเทศบาลที่ดีในประเทศไทย.” วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 5 (1). หน้า 91-100.
15. อรอนงค์ กิตตินนทชัย และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2555). “การบริหารจัดการร้านค้าปลีกรายย่อย (โชว์ห่วย) ในท้องถิ่นจากการคุกคามของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ : กรณีศึกษาอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา.” วารสารวิชาการ รมยสาร, 10 (1). หน้า 094-109.
16. ปุณยนุช ฉัตรธรรมกุล และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2554). “กระบวนการพิจารณาลงโทษให้เป็นผู้ทิ้งทวนของสำนักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา.” วารสารวิชาการ รมยสาร, 10 (1). หน้า 124-140.
17. พระณัฐภัทร ไพรศรี สมศักดิ์ ศรีสันติสุข และสมใจ ศรีหล้า. (2554). “การบวช : กระบวนการขัดเกลาสู่ความเป็นศาสนทายาทในพระพุทธศาสนา.” วารสารวิชาการ รมยสาร, 9 (1). หน้า 40-53.
18. สัมภาษณ์ ไชยตะมาตย์ และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2553). “กระบวนการสร้างพื้นที่ทางสังคมของผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นปอบ.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) , 10 (4). หน้า 127-134.
19. เกศรี วิวัฒนปฐพี, จารุวรรณ ธรรมวัตร, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, และปรีชา เปี่ยมพงษ์สานต์. (2550). “พลังผู้นำสตรีในวัฒนธรรมอีสาน.” วารสารปาริชาต, 19 (2). หน้า 45-66.
20. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข . (2550). “การประเมินและสังเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้การวิจัยวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ความหลากหลายทางชาติพันธุ์.” วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 26 (1-2). หน้า 35-49.
21. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2550). “ภูมิปัญาท้องถิ่นกับการควบคุมทางสังคม: มิติทางสังคมวิทยาในกระบวนการยุติธรรมชุมชน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 24 (1). หน้า 18-32.
22. ทรงศักดิ์ สอนจ้อย, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, และสมใจ ศรีหล้า. (2549). “การย่างไฟ ภูมิปัญญาการรักษาตนเองด้วยวิธีพื้นบ้านของชาวอีสาน.” วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 24 (1). หน้า 6-17.
23. สุภีร์ สมอนา มณีมัย ทองอยู่ และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (). “กระบวนการสร้างกรอบโครงความคิดของกระบวนการเคลื่อนไหวต่อต้านเหมืองแร่ทองคำ.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 8 (3). หน้า 47-68.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Srisontisuk, S., Hoonchareon, N.. (2021). "Multi-functional governmental levels: Border control management in customs, immigration, and quarantine (CIQ) on the border between Thailand and Laos in the Northeast of Thailand". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 16 (3). Page 383-391.
2. Pongsiri, A., Srisontisuk, S., Phosing, P.. (2020). "Multi-functional governmental levels: Border control management in customs, immigration, and quarantine (CIQ) on the border between Thailand and Laos in the Northeast of Thailand". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 12 (11). Page 175-194.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2560). FARMERS’ PERCEIVED SOURCES OF RISK IN SHRIMP FARMING IN GIAOPHONG COMMUNE, GIAOTHUY DISTRICT, NAMDINH PROVINCE, VIETNAM . ในThe 44th National Graduate Research Conference , จัดโดยUbon Ratchathani University เมื่อวันที่19 ตุลาคม 2560 ถึง 20 ตุลาคม 2560 .

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     10     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 950 Advanced Social Research Methodology
415 997 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาเอก (สาขาวิชาพัฒนศาสตร์)
400 712 Methodology in Development Science
       5.3 ระดับปริญญาเอก (สาขาวิชารัฐประศาสนศาตร์)
HS 471 901 Philosophy of Social Science
HS 471 903 Advanced Quantitative Research Methodology in Public Administration
HS 471 996 Dissertation
HS 471 998 Dissertation
       5.4 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 720 Cultural Aspects in Development
415 750 Social Research Methodology
415 751 Quantitative Analysis
415 752 Qualitative Analysis
415 899 Thesis
       5.5 ระดับปริญญาโท (Rural Development Management)
751 891 Seminar in Rural Development Management
751 892 Field Study Experience
       5.6 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น)
002 711 Research Methodology in Public Administration
002 891 Seminar in Local Government Administration
       5.7 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์)
HS 457 102 Research Methodology in Public Administration
       5.8 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 210 Rural Sociology
415 211 Thai Society
415 226 Ethnology
415 250 Social and Cultural Change
415 313 Sociology of Religion
415 314 Sociology of Health
415 414 Planning and Training of Human Resources Development
415 440 Principle of Community Analysis
415 480 Sociology and Anthropology Co-operative Education

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น