ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ :
1. ตำแหน่งทางวิชาการ อ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D.(Sociology) University of California, Riverside USA 2561
ปริญญาโท M.A.(Sociology) University of California, Riverside, USA 2556
ปริญญาตรี น.บ.(นิติศาสตร์บัณฑิต) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเทศไทย 2554
ปริญญาตรี สม.บ.(สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2547

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. Guenther, Katja M., Matthew C. Mahutga, and Panu Suppatkul.. (2016). “Stratification.” in Handbook of Contemporary Sociological Theory. : Springer International Publishing.

3.2 งานวิจัย    
1. ภาณุ สุพพัตกุล และคณะ. (2565). จัดทาคลังสถิติข้อมูลครอบครัวข้ามชาติในภาคอีสาน รหัสโครงการ 49008 ภายใต้ชุดโครงการครอบครัวข้ามชาติและการปรับตัวของชุมชนอีสาน. ขอนแก่น: -. (ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น สานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว)).
2. ภาณุ สุพพัตกุล. (2563). การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางประชากรของคนไทยที่มีคู่สมรสชาวอเมริกันในประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2513 – 2562 (Changes in Demographic Characteristics of Thai Immigrants and Their American Spouses in the U.S., 1970 – 2019). -: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. กิตติพิชญ์ พรหมโคตร, ดุษฎี อายุวัฒน์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2567). “ความเหลื่อมล้ำด้านค่าจ้างของแรงงานหญิงอีสานย้ายถิ่นในพื้นที่ปลายทาง.” วารสารการบริหารท้องถิ่น, 17 (1). หน้า 17-34.
2. ปวีณ วรรคสังข์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2567). “รูปแบบการเลือกปฏิบัติต่อผู้มีความหลากหลายทางเพศในสถาบันการศึกษาผ่านการนำเสนอของ สื่อดิจิทัลไทย.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 41 (2). หน้า 82–109.
3. พลวิเชียร ภูกองไชย, พัชรินทร์ ลาภานันท์ และ ภาณุ สุพพัตกุล. (2566). “โลกทัศน์กับความเป็นพลเมืองเชิงซ้อนจากข้างล่าง ของครอบครัวข้ามแดนในชุมชนชายแดนไทย-ลาว.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 19 (1). หน้า 100-127.
4. ลักษมี แก้ววงศ์ใหญ่ พัชรินทร์ ลาภานันท์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2565). “ชาวบ้านอีสาน กับ “วัฒนธรรมการย้ายถิ่น”.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22 (2). หน้า 152-178.
5. ภาณุ สุพพัตกุล. (2564). “Book Review: “Love, Money, and Obligation: Transnational Marriage in a Northeastern Thai Village” by Patcharin Lapanun.” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (1). หน้า 163 – 173.
6. เบญจพร โคกแปะ, ดุษฎี อายุวัฒน์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2563). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้เรื่องสิทธิการทำงานในกลุ่มทายาทรุ่นที่ 2 ของแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมา ในจังหวัดสมุทรสาคร.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3 (10). หน้า 114-136.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Phukongchai, P. , Lapanun, P. & Suppatkul, P. (2022). "Complex Citizenship from Below among Cross-border Families in a Thai-Lao Border Community". Journal of Mekong Societies, 18 (1). Page 198 - 223.
2. Kaewwongyai, L. , Lapanun, P. & Suppatkul, P. (2021). "Desire and international migration of isan villagers". Journal of Mekong Societies, 17 (2). Page 140–160.
3. Suppatkul, P., Chumnanmak, R. & Narongchai. W. (2021). "How Citizen Spouses Help Immigrant Entrepreneurs Pull Up Their Bootstraps: The Case Study of Married Thai Immigrant Entrepreneurs in Japan". Asian Journal of Social Science, 49 (2). Page 68–75.
4. Suppatkul, P. (2020). "Intraethnic Othering among Thai Wives of White American Men: An Intersectional Approach". Journal of Mekong Societies, 16 (3). Page 24-43.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. ปวีณ วรรคสังข์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2566). รูปแบบของการเลือกปฏิบัติต่อผู้มีความหลากหลายทางเพศในสถานศึกษาของไทยโดยการวิเคราะห์จากวรรณกรรมของประเทศไทยและต่างประเทศ. ในการประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2566, จัดโดยสมาคมนักประชากรไทย เมื่อวันที่27 เมษายน 2566.
2. ชิศพลว์ หารี วณิชชา ณรงค์ชัย และภาณุ สุพพัตกุล. (2566). หรือเพราะความยากจน: ความท้าทายในการดารงชีพทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัววัยรุ่น. ในการประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2566, จัดโดยสมาคมนักประชากรไทย เมื่อวันที่27 เมษายน 2566.
3. ภาณุ สุพพัตกุล. (2565). การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของผู้ย้ายถิ่นชาวไทยในช่วง 1970-2020: กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา. ในการประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2566, จัดโดยสมาคมนักประชากรไทย เมื่อวันที่27 เมษายน 2566.
4. ลักษมี แก้ววงศ์ใหญ่, พัชรินทร์ ลาภานันท์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2563). “พลวัตแรงปรารถนาของผู้ย้ายถิ่นข้ามชาติ บ้านสว่าง อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี.” . ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา แห่งชาติ ครั้งที่ 21, จัดโดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่27 มีนาคม 2563 .
5. ลักษมี แก้ววงศ์ใหญ่, พัชรินทร์ ลาภานันท์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2563). พลวัตแรงปรารถนาของผู้ย้ายถิ่นข้ามชาติ บ้านสว่าง อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21, จัดโดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่27 มีนาคม 2563.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Jhajharia, D., Lapanun, P. and Suppatkul, P. . (2019). Sikh-ing Home in Northeast Thailand: Constructing the Sikh Identity and Heritage in Khon Kaen. In the 15th International Conference on Humanities and Social Sciences (IC-HUSO 2019), During November 11-12, 2019. Khon Kaen University, Thailand..
2. Laksamee, K., Lapanun, P. and Suppatkul, P. . (2019). Desire and International Migration. In the 15th International Conference on Humanities and Social Sciences (IC- HUSO 2019), During November 11-12, 2019. Khon Kaen University, Thailand..
3. Lapanun, P. and Suppatkul, P.. (2019). Transnational marriage and oversea migration: Imaginaries and refiguring the future wellbeing and social mobility in rural Thailand. In the 10thEuroSEAS 2019, During September 10-13, 2019. Humboldt-Universitätzu , Berlin, Germany..
4. Suppatkul, P. . (2017). How Class Informs Thai Immigrant Wives' Racial Discourse about Marriage to White Men.. In Pacific Sociological Association Annual Meeting, During April 7-10, 2 0 1 7. , Portland, Oregon, USA.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     7     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 992 Seminar in Sociology II
HS 477 101 Principle Concepts in Sociology
HS 477 102 Epistemology and Essence of Sociological Theory
HS 477 104 Critical Sociological Theory
HS 477 899 Thesis
HS477991 Seminar in Sociology I
       5.2 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
HS 467 001 Trans-disciplinary Social Sciences Theories
HS 467 111 Critical Sociological Theories
HS 467 891 Seminar in Current Issues of Trans-disciplinary Social Sciences
       5.3 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 495 Sociology and Anthropology Co-Operative Education
HS 402 101 Introduction to Social Sciences
HS 402 202 Current Issues in Social Sciences
HS 402 301 Social Organization
HS 420 001 Cross-Cultural Literacy
HS 421 101 Introduction to Sociology
HS 422 103 Sociological Concepts and Theories
HS 422 110 English for Sociology and Anthropology
HS 422 401 Introduction to Research Method in Sociology and Anthropology
       5.4 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 992 Seminar in Sociology 2
HS477991 Seminar in Sociology 1

6. ความเชียวชาญ : ทฤษฎีทางสังคมวิทยา การย้ายถิ่นระหว่างประเทศ ความเหลื่อมล้ำทางสังคม


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator