ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2554
ปริญญาโท ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2545
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2540

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. รัตนา จันทร์เทาว์. (2562). สื่อสารอย่างไร...ไม่ให้คนไทยเผ่าอ้อย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. รัตนา จันทร์เทาว์. (2559). เอกสารคำสอน 427 212 ภาษาลาว 2. ขอนแก่น: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. รัตนา จันทร์เทาว์. (2559). เรือยาวประเพณ๊ วิถีชีวิตอีสาน. ขอนแก่น: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. รัตนา จันทร์เทาว์. (2557). ภาษาลาว...เล่าเรื่อง. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.

3.2 งานวิจัย    
1. รัตนา จันทร์เทาว์. (2561). การสื่อสารในชุมชนเพื่อลดปัญหาการเผ่าเศษวัสดุทางการเกษตร: กรณีศึกษาการเผ่าอ้อยก่อนการเก็บเกี่ยว ในอำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. รัตนา จันทร์เทาว์. (2558). พาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ลาว: เนื้อหาและลีลาภาษา. ขอนแก่น: รายงานวิจัยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
3. รัตนา จันทร์เทาว์. (2557). คำศัพท์ใหม่ในภาษาลาว: กลุ่มความหมายและการสร้างคำ. ขอนแก่น: รายงานวิจัยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
4. รัตนา จันทร์เทาว์. (2555). คำซ้อนสองพยางค์ภาษไทย: การสืบหาความหมายในภาษาลาว. ขอนแก่น: รายงานวิจัยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
5. Rattana Chanthao. (2015). The Connection between Laos and Other Countries in Newspapers. London: . ( ).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วัชระ ลานเจริญ และ รัตนา จันทร์เทาว์. (2566). “ภาษาอังกฤษกับบริบทสังคมวัฒนธรรมอีสานในเพลงอีสานสมัยใหม่.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 40 (2). หน้า 28-62.
2. อภิสรา โครตโยธา และรัตนา จันทร์เทาว์. (2564). “ลีลาภาษาของสุทธิชัย แซ่หยุ่น ในรายการกาแฟดำ.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 29 (1). หน้า 176-201.
3. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์ และรัตนา จันทร์เทาว์. (2564). “โครงสร้างและที่มาภาษานามสกุลคนลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 31 (1). หน้า 176-200.
4. รัตนา จันทร์เทาว์ และ กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. (2563). “นามสกุลคนลาว นครหลวงเวียงจันทน์: คำและความหมาย.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 9 (1). หน้า 38-56.
5. รัตนา จันทร์เทาว์. (2563). “การสื่อสาร “ภาวะโลกร้อน” สู่เกษตรกรภาคอีสานในพื้นที่กึ่งสังคมเมือง.” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ , 10 (1). หน้า 59-83.
6. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์, รัตนา จันทร์เทาว์. (2563). “คำเรียกสีในภาษาไทยและโครงสร้างคำเรียกสี.” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5 (6). หน้า 152-167.
7. วษาร์ บุดดีคำ, รัตนา จันทร์เทาว์. (2563). “ลีลาภาษาของ พุทธอภิวรรณ องค์พระบารมี ในรายการทุบโต๊ะข่าว.” วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6 (2). หน้า 51-66.
8. รัตนา จันทร์เทาว์, กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. (2563). “นามสกุลคนลาว นครหลวงเวียงจันทน์: คำและความหมาย.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม , 9 (1). หน้า 35-56.
9. อานนท์ ลีสีคำ, รัตนา จันทร์เทาว์. (2563). “ลีลาภาษาของเกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (น้าเน็ก) ในรายการอย่าหาว่าน้าสอน.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 9 (2). หน้า 77-111.
10. รัตนา จันทร์เทาว์. (2562). “การสื่อสารเพื่อการพัฒนา: ปัญหาการเผาอ้อยในภาคอีสาน.” วารสารพื้นถิ่นโขง ชี มูล, 5 (2). หน้า 97-124.
11. รัตนา จันทร์เทาว์. (2562). “ข่าวเกี่ยวกับประเทศไทยในหนังสือพิมพ์เวียดนาม.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 8 (1). หน้า 52-70.
12. กันยรัตน์ อุ่นทานนท์, รัตนา จันทร์เทาว์. (2561). “คำยืมภาษาอังกฤษในภาษาลาว: หมวดหมู่ความหมายและผลกระทบต่อภาษาลาว.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 7 (2). หน้า 190-201.
13. รัตนา จันทร์เทาว์. (2561). “อุปลักษณ์ผู้ชายและผู้หญิงในสุภาษิตบ่าวสาวลาว.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 7 (1). หน้า 154-183.
14. พระมหาอธิวัฒน์ บุดดานาง, รัตนา จันทร์เทาว์. (2561). “หน้าที่ของการสลับภาษาระหว่างภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาบาลี ในการแสดงธรรม ของพระอาจารย์สมภพ โชติปญฺโญ;.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม , 7 (1). หน้า 123-153.
15. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์ และรัตนา จันทร์เทาว์. (2560). “คำยืมภาษาอังกฤษในภาษาลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 82-99.
16. หนึ่งฤทัย ปานแก้ว, รัตนา จันทร์เทาว์. (2560). “ภาษาที่ใช้ตั้งชื่ออำเภอในภาคกลาง.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 6 (2). หน้า 69-82.
17. วทัญญา เล่ห์กัน, รัตนา จันทร์เทาว์. (2560). “ที่มาภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่ออำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 34 (3). หน้า 100-117.
18. กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์, รัตนา จันทร์เทาว์. (2560). “คำยืมภาษาอังกฤษในภาษาลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 63-99.
19. รัตนา จันทร์เทาว์, เชิดชาย อุดมพันธ์. (2560). “ชื่ออาหารท้องถิ่นอีสานและภาคใต้ : มุมมองด้านอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 9 (1). หน้า 63-89.
20. บุญมา พรหมสาขา ณ สกลนคร, รัตนา จันทร์เทาว์. (2560). “ชื่อเมืองในประเทศเยอรมนีที่สัมพันธ์กับแม่น้ำ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (1). หน้า 69-89.
21. ณัฐพร จันทร์เติม, รัตนา จันทร์เทาว์. (2560). “การสังเคราะห์งานศึกษาภาษาผู้ไทในประเทศไทย.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 6 (1). หน้า 83-97.
22. รัตนา จันทร์เทาว์. (2559). “พลวัตของบทบาทหน้าที่ประเพณีการแข่งเรือยาวในภาคอีสาน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 33 (3). หน้า 115-134.
23. รัตนา จันทร์เทาว์. (2559). “การสูญศัพท์ของคำเรียกอาหารอีสาน.” วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12 (2). หน้า 9-34.
24. สุวรรณแสง สุวรรณแสง, รัตนา จันทร์เทาว์. (2559). “การสืบทอดภาษาอีสาน.” การสืบทอดภาษาอีสาน, 5 (2). หน้า 72-88.
25. รัตนา จันทร์เทาว์. (2557). “คำศัพท์ใหม่ในภาษาลาว.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (1). หน้า 121 – 134.
26. รัตนา จันทร์เทาว์. (2557). “คำศัพท์ใหม่ในภาษาลาว.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (1). หน้า 51-69.
27. รัตนา จันทร์เทาว์. (2554). “การสัมผัสภาษา : ภาษาไทยและภาษาลาวของคนลาว.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 7 (3). หน้า 121-134.
28. รัตนา จันทร์เทาว์. (2553). “อุปลักษณ์เกี่ยวกับแหล่งน้ำของคนขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 27 (3). หน้า 71-85.
29. รัตนา จันทร์เทาว์. (2552). “สถานภาพการศึกษาภาษาลาวของคนไทย.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 5 (2). หน้า 109-137.
30. รัตนา จันทร์เทาว์. (2550). “ลมหายใจ...ภาษาไทยถิ่น (อีสาน).” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 24 (3). หน้า 13-24.
31. รัตนา จันทร์เทาว์, สาริสา อุ่นทานนท์. (2550). “ข้อบกพร่องการเขียนภาษาลาวของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 3 (2). หน้า 123-147.
32. รัตนา จันทร์เทาว์, วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2550). “การศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวชนบทอีสาน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 24 (2). หน้า 71-92.
33. รัตนา จันทร์เทาว์. (2549). “ภาษาและเนื้อหาในเพลงลูกทุ่งลาวของไซพอน สินทะลาด.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 23 (3). หน้า 43-66.
34. รัตนา จันทร์เทาว์. (2548). “ประวัติความเป็นมา และวัฒนธรรมภาษาในการตั้งชื่อของไทแมน.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 1 (325). หน้า 149-169.
35. Rattana Chanthao. (2016). “Dialect Power to Communication for Development.” Journal of Scienctific and Development, 3 (3). หน้า 69-74.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Chanthao, R. & Unthanon, K. (2021). "Word-formation of business words in Laotian language". International of Social Sciences and Economic Research, 6 (1). Page 113-124.
2. Chanthao, R. (2020). "Environment contents in Lao language textbooks of elementary school". Palarch’s Journal of Archaeology of Egypt/Egyptology, 17 (9). Page 633-644.
3. Chanthao, R. (2020). "Khao-Lam: from cultural food to community development". International of Social Sciences and Economic Research, 5 (10). Page 2758-2766.
4. Chanthao, R. (2020). "Bamboo Rice: Food cultural heritage in Southeast Asia". International Journal of Education and Social Science Research, 3 (6). Page 111-116.
5. Chanthao, R. (2018). "Thai language teaching problems and teacher development of elementary school in rural Thailand". Advance in Natural and Applied Sciences, 12 (1). Page 1-5.
6. Chanthao, R. (2018). "Thailand in Laos’ newspaper". International Journal of Education and Social Science Research, 1 (5). Page 73-80.
7. Unthanon, K. & Chanthao, R. (2018). "Development of personal naming in Laos". IJESSR, 1 (4). Page 240-245.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Kongrat, C. & Chanthao, R. (2019). Cultural lexical loss of Isan language in Thailand. In ICLEHI in proceedings of Language, Education, Humanities and Innovation, During 5-6 April, 2019. -, Japan.
2. Chanthao, R. & Dandee, W. (2018). Thailand in Mekong Regional Countries’ Newspapers. HPFCONF. In in proceedings of Humanities, Psychology, and Social Sciences, During 19-21 October 2018. -, Munich Ggermany.
3. Rattana Chanthao. (2014). The Relation of Laos and Other Countries from Newspaper’s Headline. In Proceedings in “The 2014 WEI International Academic Conference Proceedings, During 16-18 June. at Bali , Indonesia.
4. Rattana Chanthao. (2013). New Lexical in Laotian Language. In Proceedings in“9th International Conference on Humanities and Social Sciences, During 18 -19 November 2013. at Khon Kaen University, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     27     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรภาษาไทยดุษฎีบัณทิต)
416 922 ภาษาศาสตร์เชิงสังคมและวัฒนธรรม
416 981 สัมมนาประเด็นปัจจุบันทางภาษาและวรรณกรรมไทย (สอนร่วม)
416 999 ดุษฎีนิพนธ์
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรภาษาไทยมหาบัณฑิต)
416 721 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
416 722 ภาษาศาสตร์สังคม
416 799 วิทยานิพนธ์

6. ความเชียวชาญ : ภาษาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาลาว ภาษาศาสตร์สังคม การสื่อสารต่างวัฒนธรรม

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น