ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ :
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Doctor of philosophy (Rural Sociology) University of Missouri United State of America 2560
ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2560
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (การจัดการการพัฒนาสังคม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2552

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2566). จิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคม. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. อภิรดี วงศ์ศิริ และณัฏฐญาณี จันทพลาบูรณ์. (2565). การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในชุมชนรอบมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ 2564).
2. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2563). อาสาสมัครสาธารณะกับธรรมาภิบาลท้องถิ่น. หนองคาย: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยภายใต้โครงการส่งเสริมผลการวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตด้านวิชาการวิทยาเขตหนองคาย โดยฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
3. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2563). การสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนบนฐานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชนในพื้นที่. บึงกาฬ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยภายใต้โครงการพัฒนานักวิจัยหน้าใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ 2562).
4. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2563). วิสัยทัศน์ในมิติการพัฒนาท้องถิ่นผ่านกรอบแนวคิดทุนชุมชนของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ภายใต้โครงการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาสำหรับอาจารย์รุ่นใหม่ของสาขาวิชาพัฒนาสังคม ประจำปีงบประมาณ 2563).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ดุษฎี อายุวัฒน์, อภิรดี วงศ์ศิริ, ปณัทพร เรืองเชิงชุม, สุวิมล คำน้อย และ ณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2566). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสะสมทักษะชีวิตในสังคมสมัยใหม่ของแรงงานย้ายถิ่นกลับ จากต่างประเทศ.” วารสารประชากรศาสตร์, 39 (2). หน้า 24-37.
2. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2566). “คุณค่าทางสังคมของงานอาสาสมัครของอาสาสมัครชุมชน.” วารสารจันทรเกษมสาร, 29 (2). หน้า 158-173.
3. ดุษฎี อายุวัฒน์, อภิรดี วงศ์ศิริ, ปณัทพร เรืองเชิงชุม, สุวิมล คำน้อย และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2566). “การสะสมทุนสังคมในถิ่นปลายทางของแรงงานอีสานย้ายถิ่นกลับจากต่างประเทศ.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 12 (2). หน้า 114-139.
4. ณัฏฐญาณี จันทพลาบูรณ์ และอภิรดี วงศ์ศิริ. (2565). “การเตรียมความพร้อมในการก้าวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย.” วารสารจันทรเกษมสาร, 28 (1). หน้า 109-124.
5. ชินวัตร พิมพา และอภิรดี วงศ์ศิริ. (2565). “การศึกษาประเด็นการร้องเรียนด้านการบริการและการบริหาร ของหน่วยงานภาครัฐของประชาชนผ่านแอปพลิเคชันดำรงธรรม Tracking ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดขอนแก่น.” วารสารจันทรเกษมสาร, 27 (2). หน้า 317-332.
6. ชินาธิป ชาติพุดซา, พัชรพร พัฒนกูลเกียรติ, ธีรพันธ์ พลศรี, นันทวัฒน เนื่องลี, ศิริภัสสร ทรงสังข์, ศุภรัสมิ์ ชมภูบุตร, ชนากานต์ แก้วคํา, พงษ์วิศิษฐ์ ปะนัดถา, ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ และอภิรดี วงศ์ศิริ. (2565). “การใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความรู้และการมีส่วนร่วมในการปลูกผักสวนครัวของคนจนเมือง ชุมชนเทพารักษ์ 5 เทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง, 30 (2). หน้า 1 - 15.
7. มรกต สุบิน และ อภิรดี วงศ์ศิริ. (2564). “การมีส่วนร่วมของนักศึกษาอาสาสมัคร ด้านการรักษาความปลอดภัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารการบริหารท้องถิ่น, 14 (2). หน้า 157-174.
8. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2563). “การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความครอบคลุมทางสังคมของอาสาสมัครสาธารณะ ในชุมชนชนบท ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 37 (2). หน้า 19-37.
9. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2562). “การศึกษาความสัมพันธ์ของการบริหารจัดการท้องถิ่นกับธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบล ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.” วารสารการบริหารท้องถิ่น, 12 (3). หน้า 354-371.
10. อภิรดี วงศ์ศิริ. (2561). “ทุนทางสังคมภายนอกชุมชน: การมีส่วนร่วมของประชาชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 35 (3). หน้า 152-175.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Wongsiri, A. & Nonthapot, S. (2022). "The Use and Transmission of Traditional Beliefs for Environmental Conservation in the Bueng Khong Long Wetland, Thailand". Journal of Mekong Societies, 18 (1). Page 103–124.
2. Wongsiri, A. (2021). "The Mediating Effect of Social Capital on the Relationships between Community Attachment, Community Support, and Civic Engagement of Volunteers in Thailand". International Journal of Interdisciplinary Social and Community Studies, 16 (2). Page 155-168.
3. Wongsiri, A. (2021). "A Confirmatory Factor Analysis: Examining the Local Performance Assessment System of Sub-District Municipalities in Northeast Thailand". International Journal of Interdisciplinary Organizational Studies, 16 (1). Page 33–46.
4. Wongsiri, A. (2020). "The effect of social network size on the perspectives of volunteering". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 11 (5). Page 498–516.
5. Nonthapot, S., & Wongsiri, A. (2019). "Impacts of the Tourism Environment on Economic Activities at Wat Phra That Phanom, Thailand". Journal of Environmental Management and Tourism, (Volume X, Spring), 2 (34). Page 292 - 299. DOI:10.14505/jemt.v10.2(34).02.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     14     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาโท (พัฒนาสังคม)
HS 467 103 การจัดการเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนา
       5.2 ระดับปริญญาตรี (พัฒนาสังคม)
420 100 Community-Based Learning
420 330 Social Development Practice III
420 335 Media Utilisation for Social Development
420 437 Planning and Development Project Management
420 495 Cooperative Education in Social Development
CL 303 205 การจัดการกลยุทธ์เพื่อการบริหารภาครัฐ
HS 402 401 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางสังคมศาสตร์
HS 430 001 Community-Based Learning
HS 430 001 การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
HS 433 803 จิตสาธารณะและองค์กรภาคประชาสังคม
HS 434 785 สหกิจศึกษาทางพัฒนาสังคม
HS 434 806 ธรรมาภิบาลในการพัฒนาสังคม

6. ความเชียวชาญ :


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator