ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ :
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D.(Philosophy & Religion) Banaras Hindu University India 2554
ปริญญาโท M.A.(Indian Philosophy & Religion) Banaras Hindu University India 2549
ปริญญาตรี ศน.บ.(ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหามกฎราชวิทยาลัย ประเทศไทย 2546

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2566). ศาสนาเปรียบเทียบ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2565). ศาสนาเบื้องต้น. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2564). พุทธศาสนาในประเทศไทย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ. (2566). เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงจาริกแสวงบุญในพุทธศาสนาไทยสมัยใหม่ : พิพิธภัณฑ์และภูมิสถาปัตย์ของ แม่ชีแก้ว เสียงล้ำ จังหวัดมุกดาหาร. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ. (2565). รูปแบบการส่งเสริมอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธศิลป์ของอุโบสถในจังหวัดร้อยเอ็ด. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
3. ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ. (2563). เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ปรีชา บุตรรัตน์, วิเชียร แสนมี และประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2567). “ความเชื่อมั่นต่อคำบอกเล่าของประจักษ์พยานจากสื่อสังคมออนไลน์.” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21 (1). หน้า 197-211.
2. ประภาส แก้วเกตุพงษ์ วิเชียร แสนมี และจุรี สายจันเจียม. (2566). “รูปแบบการส่งเสริมอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธศิลป์ของอุโบสถในจังหวัดร้อยเอ็ด.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (9). หน้า 156-168.
3. ประภาส แก้วเกตุพงษ์, วิเชียร แสนมี, จุรี สายจันเจียม . (2565). “เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10 (5). หน้า 2113-2129.
4. ภัทรชัย อุทาพันธ์, ประชัน ชะชิกุล, วิเชียร แสนมี, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2565). “การอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์และสันติสุขบนพื้นฐานของความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษาชุมชนบ้านไร่ ตำบลสบป่อง อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน.” วารสารสังคมศาสตร์และศาสตร์ร่วมสมัย, 3 (2). หน้า 1-12.
5. ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2564). “ ศึกษาแนวคิดปรัชญาทางการเมืองของเพลโต.” วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 4 (2). หน้า 183-200, 2564. (TCI).
6. ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2564). “ประเพณีการสร้างพระพุทธรูปในประเทศไทย.” Journal of Roi Kaensarn Academi , 6 (5). หน้า 183-196, 2564. (TCI).
7. ประภาส แก้วเกตุพงษ์, วิเชียร แสนมี. (2563). “พุทธศาสนา : การสร้างสันติสุขอย่างยั่งยืน.” พุทธมัคค์, 5 (1). หน้า 63-73.
8. วิเชียร แสนมี, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “แนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท.” Journal of Modern Learning Development, 5 (3). หน้า 288-300.
9. ประเวช วะทาแก้ว, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “รูปแบบภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา.” วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 3 (3). หน้า 94-106.
10. ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “ความเข้าใจเรื่องปาฏิหาริย์ในพระพุทธศาสนา.” วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 9 (1). หน้า 508-518.
11. ประสิทธิ์ วงศรีเทพ, สุวิน ทองปั้น, พระทศเทพ ทสธมฺโม (วณิชาติ), ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2562). “หลักฆราวาสธรรมกับการพัฒนาชีวิตสำหรับผู้ครองเรือน.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (3). หน้า 265-274.
12. พระทศเทพ ทสธมฺโม (วณิชาติ),, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, พระราช ปริยัติวิมล, ประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล สุภทรเมธี. (2562). “จริยศาสตร์ของค้านท์: การทำหน้าที่ระหว่างบุพการีและกตัญญูกตเวที.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (3). หน้า 231-242.
13. พระทศเทพ ทสธมฺโม วณิชาติ, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, พระ ราชปริยัติวิมล, ประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล สุภรเมธี. (2562). “จริยศาสตร์: ความกตัญญูกตเวทิตาต่อบุพการี.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ , 19 (4). หน้า 245-254.
14. พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์ (ปริชาโน) , พระมหาสากล เดินชาบัน (สุภรเมธี), พระมหาวันดี ปะวะเส (กนฺตวีโร) . (2561). “แนวคิดเรื่องอวิชชาในพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 12 (2). หน้า 159-164.
15. ประภาส แก้วเกตุพงษ์ วิเชียร แสนมี และจุรี สายจันเจียม. (10). “เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10 (5). หน้า 2113-2129.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Martin Seeger, Prapas Kaewketpong, Adcharawan Seeger, Juree Saijunjiam. (2024). "Soteriological Inclusiveness and Religious Tourism in Modern Thai Buddhism: The Stūpa of Mae Chi Kaew Sianglam (1901-1991)". Journal of Global Buddhism, 25 (2). Page 163-185.
2. Sanmee Wichian, Ruangsan Niraj, Kaewketpong Prapas. (2021). "Online Instructional Activities for Creative Internet Use of Tertiary Students in Thailand". PSYCHOLOGY AND EDUCATION, 58 (1). Page 1453-1457.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     10     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (สาขาวิชาปรัชญาและศาสนาตะวันออก)
HS 877 102 Analysis of Buddhis and Buddhis Philosophy
HS 877 103 Analysis of Philosophy and Religion in India
       5.2 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
HS 857 209 Current Issues in the Mekong Region
       5.3 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
HS 821203 Introduction to Religion
HS 821204 Comparative Religion
HS 821206 Introduction to Buddhism
HS 821207 Buddhism and Thai Society and Culture
HS 821215 Buddhism in Thailand

6. ความเชียวชาญ : ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา ปรัชญาอินเดีย ศิลปวัฒนธรรมไทย


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator