ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | Ph.D.(Philosophy & Religion) | Banaras Hindu University India | 2554 |
ปริญญาโท | M.A.(Indian Philosophy & Religion) | Banaras Hindu University India | 2549 |
ปริญญาตรี | ศน.บ.(ปรัชญา) | มหาวิทยาลัยมหามกฎราชวิทยาลัย ประเทศไทย | 2546 |
1. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2566). ศาสนาเปรียบเทียบ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
2. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2565). ศาสนาเบื้องต้น. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
3. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2564). พุทธศาสนาในประเทศไทย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
4. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2562). 9 ทฤษฎีแนวคิดด้านปรัชญาและศาสนา. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. |
5. | พระมหาสากล สุภรเมธี,ดร., พระมหาประภาส ปริชาโน,ดร. (2561). สัมมนาอภิปรัชญา. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. |
6. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์). (2561). ตรรกศาสตร์เชิงประยุกต์. กรุงเทพฯ: บริษัท นีโอ ดิจิตัล จำกัด. |
7. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์). (2558). ปรัชญาประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย. |
8. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์). (2558). ปรัชญาประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย. |
9. | พระมหาประภาส ปริชาโน,ดร. และคณะ. (2558). ปรัชญา 5 นักปราชญ์, วีรบุรุษอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. |
10. | พระมหาประภาส ปริชาโน. (2555). ธรรมะของพระพุทธเจ้าในเมืองพม่า. กรุงเทพฯ: ธิงค์ บียอนด์. |
11. | พระมหาประภาส ปริชาโน. (2553). มองพุทธให้เข้าใจใน 5 นาที. กรุงเทพฯ: ธิงค์ บียอนด์. |
1. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ. (2566). เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงจาริกแสวงบุญในพุทธศาสนาไทยสมัยใหม่ : พิพิธภัณฑ์และภูมิสถาปัตย์ของ แม่ชีแก้ว เสียงล้ำ จังหวัดมุกดาหาร. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (). |
2. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ. (2565). รูปแบบการส่งเสริมอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธศิลป์ของอุโบสถในจังหวัดร้อยเอ็ด. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (). |
3. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ. (2563). เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (). |
4. | พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล เดินชาบัน, พระธรรมรัตน์ หาญณรงค์, จุรี สายจันเจียม, สมศรี แก้วกิตติ. (2562). รูปแบบการเสริมสร้างทัศนคติการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารเทศบาลเมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (). |
5. | พระมหาประภาส ปริชาโน, จุรี สายจันเจียม, พระมหาสากล สุภรเมธี, พระราชปริยัติวิมล, พระอภิชาติ อภิญาโณ, จิราภรณ์ เชื้อพรวน และ ประเวช วะทาแก้ว. (2562). การป้องกันพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กและเยาวชนด้วยหลักอุตตรทิศเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งทางครอบครัวภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (). |
6. | สมศรี แก้วกิตติ, พระมหาประภาส ปริชาโน, พระมหาสากล สุภรเมธี และจุรี สายจันเจียม. (2561). กลยุทธ์การบริหารจัดการการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (). |
7. | สมศรี แก้วกิตติ, พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล สุภรเมธี, พระอภิชาติ แก้วเกตุพงษ์ และจุรี สายจันเจียม. (2561). รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (). |
8. | จุรี สายจันเจียม, พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์, สมศรี แก้วกิตติ และศุภสิทธิ์ ลินทมาตย์. (2561). รูปแบบการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสำนักงานเทศบาลเมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (). |
9. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์), พระราชปริยัติวิมล (ศรีสุระ), พระมหาสากล สุภรเมธี (เดินชาบัน), พระธรรมรัตน์ เขมธโร (หาญณรงค์), พระครูปลัดทองใบ สุปภาโส, ประเวช วะทาแก้ว. (2560). รูปแบบการสร้างเสรีภาพของโทมัส ฮอบส์กับพุทธปรัชญาเถรวาท. ร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. (). |
10. | วสิฐพัชร วาฤทธิ์, พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระใกล้รุ่ง ปญฺญาวชิโร, พระมหาสากล สุภรเมธี, พระครูปลัดรังสรรค์ คุณสาโร, ประชัน ชะชิกุล, สุเมตร์ เทพโสภา, นิคม ปาทะวงศ์. (2559). การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านสระลงเรือ ตำบลสระลงเรือ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (). |
1. | กานต์ กาญจนพิมาย, วิเชียร แสนมี, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2567). “บทบาทพระครูอภิรักษ์ธีรคุณกับการพัฒนาสังคมในจังหวัดสุรินทร์.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 21 (1). หน้า 150-162 [TCI กลุ่มที่ 2]. |
2. | ปรีชา บุตรรัตน์, วิเชียร แสนมี และประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2567). “ความเชื่อมั่นต่อคำบอกเล่าของประจักษ์พยานจากสื่อสังคมออนไลน์.” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21 (1). หน้า 197-211. |
3. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์ วิเชียร แสนมี และจุรี สายจันเจียม. (2566). “รูปแบบการส่งเสริมอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธศิลป์ของอุโบสถในจังหวัดร้อยเอ็ด.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (9). หน้า 156-168. |
4. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์, วิเชียร แสนมี, จุรี สายจันเจียม . (2565). “เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10 (5). หน้า 2113-2129. |
5. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2565). “เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด : พุทธสถานพระวิสุทธิญาณเถร.” วารสารปารมิตา, 4 (2). หน้า 29-37 [TCI กลุ่มที่ 2]. |
6. | ภัทรชัย อุทาพันธ์, ประชัน ชะชิกุล, วิเชียร แสนมี, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2565). “การอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์และสันติสุขบนพื้นฐานของความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษาชุมชนบ้านไร่ ตำบลสบป่อง อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน.” วารสารสังคมศาสตร์และศาสตร์ร่วมสมัย, 3 (2). หน้า 1-12. |
7. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2564). “ ศึกษาแนวคิดปรัชญาทางการเมืองของเพลโต.” วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 4 (2). หน้า 183-200, 2564. (TCI). |
8. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2564). “ประเพณีการสร้างพระพุทธรูปในประเทศไทย.” Journal of Roi Kaensarn Academi , 6 (5). หน้า 183-196, 2564. (TCI). |
9. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์, วิเชียร แสนมี. (2563). “พุทธศาสนา : การสร้างสันติสุขอย่างยั่งยืน.” พุทธมัคค์, 5 (1). หน้า 63-73. |
10. | วิเชียร แสนมี, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “แนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท.” Journal of Modern Learning Development, 5 (3). หน้า 288-300. |
11. | ประเวช วะทาแก้ว, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “รูปแบบภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา.” วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 3 (3). หน้า 94-106. |
12. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “ความเข้าใจเรื่องปาฏิหาริย์ในพระพุทธศาสนา.” วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 9 (1). หน้า 508-518. |
13. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2563). “Improvement of Reading Comprehension by Using English Newspaper.” วารสารการสอนภาษาอังกฤษ, 1 (3). หน้า 11-23 [TCI]. |
14. | ประสิทธิ์ วงศรีเทพ, สุวิน ทองปั้น, พระทศเทพ ทสธมฺโม (วณิชาติ), ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2562). “หลักฆราวาสธรรมกับการพัฒนาชีวิตสำหรับผู้ครองเรือน.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (3). หน้า 265-274. |
15. | พระทศเทพ ทสธมฺโม (วณิชาติ),, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, พระราช ปริยัติวิมล, ประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล สุภทรเมธี. (2562). “จริยศาสตร์ของค้านท์: การทำหน้าที่ระหว่างบุพการีและกตัญญูกตเวที.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (3). หน้า 231-242. |
16. | พระทศเทพ ทสธมฺโม วณิชาติ, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, พระ ราชปริยัติวิมล, ประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล สุภรเมธี. (2562). “จริยศาสตร์: ความกตัญญูกตเวทิตาต่อบุพการี.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ , 19 (4). หน้า 245-254. |
17. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์, วิเชียร แสนมี. (2562). “การเสริมสร้างสันติภาพในสังคมด้วยหลักกตัญญูกตเวทิตาธรรม.” วารสารวนัมฏองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 6 (2). หน้า 71-81 [TCI]. |
18. | พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์ และ พระมหาบุญไทย ปุญฺญมโน. (2562). “วิวัฒนาการพุทธศิลป์ในประเทศอินเดีย.” วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 21 (1). หน้า 53-61 [TCI กลุ่มที่ 1]. |
19. | พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล เดินชาบัน, พระธรรมรัตน์ หาญณรงค์, จุรี สายจันเจียม, สมศรี แก้วกิตติ. (2562). “รูปแบบการเสริมสร้างทัศนคติการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารเทศบาลเมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (1). หน้า 151-160 [TCI กลุ่มที่ 1]. |
20. | พระมหาประภาส ปริชาโน, จุรี สายจันเจียม, พระมหาสากล สุภรเมธี, พระราชปริยัติวิมล, พระอภิชาติ อภิญาโณ, จิราภรณ์ เชื้อพรวน และ ประเวช วะทาแก้ว. (2562). “การป้องกันพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กและเยาวชนด้วยหลักอุตตรทิศเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งทางครอบครัวภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง.” วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ. , 29 (1). หน้า 142-154 [TCI กลุ่มที่ 2]. |
21. | พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์ (ปริชาโน) , พระมหาสากล เดินชาบัน (สุภรเมธี), พระมหาวันดี ปะวะเส (กนฺตวีโร) . (2561). “แนวคิดเรื่องอวิชชาในพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 12 (2). หน้า 159-164. |
22. | พัชรี ศิลารัตน์ พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์ ประเวช วะทาแก้ว. (2560). “แนวทางสร้างสันติสุขในพระพุทธศาสนาเถรวาท.” วารสารปรัชญาปริทรรศน์, 22 (2). หน้า 99-111 [TCI]. |
23. | พระมหาสากล สุภรเมธี พระมหาประภาส แก้วเกตุพงษ์ พระครูวินัยธรธรรมรัตน์ เขมธโร. (2560). “อภิปรัชญากับการค้นหาความจริงทางวิทยาศาสตร์.” วารสารปรัชญาปริทรรศน์, 22 (1). หน้า 43-52 [TCI]. |
24. | พระราชปริยัติวิมล (ศรีสุระ), พระมหาประภาส ปริชาโน, พระครูปลัดรังสรรค์ คุณสาโร. (2560). “การบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 17 (2). หน้า 187-197 [TCI กลุ่มที่ 2]. |
25. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์), พระราชปริยัติวิมล (ศรีสุระ), พระมหาสากล สุภรเมธี (เดินชาบัน), พระธรรมรัตน์ เขมธโร (หาญณรงค์), พระครูปลัดทองใบ สุปภาโส, ประเวช วะทาแก้ว. (2560). “รูปแบบการสร้างเสรีภาพของโทมัส ฮอบส์กับพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 5 (2). หน้า 163-170 [TCI กลุ่มที่ 2]. |
26. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์), พระราชปริยัติวิมล (ศรีสุระ). (2560). “พุทธวิธีบำบัดโรคด้วยธรรมโอสถสู่การดูแลสุขภาพที่ดี.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 17 (1). หน้า 179-192 [TCI กลุ่มที่ 2]. |
27. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์). (2560). “พุทธสังเวชนียสถาน วิมานทองของชาวพุทธ.” วารสารราชบัณฑิตยสภา, 42 (3). หน้า 243-259 [TCI]. |
28. | วสิฐพัชร วาฤทธิ์, พระมหาประภาส ปริชาโน, พระใกล้รุ่ง ปญฺญาวชิโร, พระมหาสากล สุภรเมธี, พระครูปลัดรังสรรค์ คุณสาโร, ประชัน ชะชิกุล, สุเมตร์ เทพโสภา, นิคม ปาทะวงศ์. (2559). “การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านสระลงเรือ ตำบลสระลงเรือ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี.” วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 7 (2). หน้า 72-85 [TCI กลุ่มที่ 2]. |
29. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์ วิเชียร แสนมี และจุรี สายจันเจียม. (10). “เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10 (5). หน้า 2113-2129. |
1. | Martin Seeger, Prapas Kaewketpong, Adcharawan Seeger, Juree Saijunjiam. (2024). "Soteriological Inclusiveness and Religious Tourism in Modern Thai Buddhism: The Stūpa of Mae Chi Kaew Sianglam (1901-1991)". Journal of Global Buddhism, 25 (2). Page 163-185. |
2. | Sanmee Wichian, Ruangsan Niraj, Kaewketpong Prapas. (2021). "Online Instructional Activities for Creative Internet Use of Tertiary Students in Thailand". PSYCHOLOGY AND EDUCATION, 58 (1). Page 1453-1457. |
1. | พระอภิชาติ แก้วเกตุพงษ์, ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และไกรราช แก้วเกตุพงษ์. (2566). พุทธจริยศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2566 “ศาสนาและปรัชญา : แนวคิด มุมมอง คุณค่าทางจริยธรรม”, จัดโดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เมื่อวันที่22 มิถุนายน 2566 หน้า 283-295 [Proceeding]. |
2. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์, ไกรราช แก้วเกตุพงษ์, นัตยา แก้วเกตุพงษ์ และพระมหาสากล เดินชาบัน. (2566). พุทธพิธีกรรมแท้ : สร้างคุณค่าให้พุทธศาสนิกชนสร้างความยั่งยืนให้พระพุทธศาสนา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2566 “ศาสนาและปรัชญา : แนวคิด มุมมอง คุณค่าทางจริยธรรม” , จัดโดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เมื่อวันที่22 มิถุนายน 2566, หน้า 141-155 [Proceeding]. |
3. | ปิยพัชญ์ กุลเจริญพงศ์, พระอภิชาติ แก้วเกตุพงษ์, พระมหาสากล เดินชาบัน, ประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2565). คุณสมบัติของผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในพระพุทธศาสนา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 “พุทธศาสนาและปรัชญา : แนวคิด มุมมมอง สู่สันติภาพ”, จัดโดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เมื่อวันที่-. |
4. | ประภาส แก้วเกตุพงษ์, ประเวช วะทาแก้ว. (2563). แนวคิดเรื่องกรรมในพุทธปรัชญา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 “ปรัชญาสุวรรณภูมิ : กระบวนทัศน์พระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาชีวิตในศตวรรษที่ 21”, จัดโดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เมื่อวันที่19 กันยายน 2563, หน้า 244-253 [Proceeding]. |
5. | พระอภิชาติ อภิญาโณ (แก้วเกตุพงษ์), พระประพงษ์ จิรปุญฺโญ (มงคลเคหา), พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์). (2561). การพัฒนามนุษย์ด้วยหลักศีล 5 ตามแนวพุทธปรัชญา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 3 , จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อวันที่28-29 มีนาคม 2561, หน้า 248-253 [Proceeding]. |
6. | พระมหาประภาส ปริชาโน, พระมหาสากล สุภรเมธี และมหาวันดี ปะวะเส. (2561). จริยธรรมนักการเมืองตามแนวพุทธปรัชญา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 3 , จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อวันที่28-29 มีนาคม 2561, หน้า 20-29 [Proceeding]. |
7. | พระมหาประภาส ปริชาโน, พระมหาเส็ง ญาณิสฺสโร (สืบเสาร์). (2561). มหาตมะ คานธี : หลักปรัชญาอหิงสา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 , จัดโดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด เมื่อวันที่25 สิงหาคม 2561 [Proceeding]. |
8. | พระมหาประภาส ปริชาโน (แก้วเกตุพงษ์), พระมหาสากล สุภรเมธี (เดินชาบัน), พระมหาวันดี กนฺตวีโร (ปะวะเส). (2560). การดำเนินชีวิตตามหลักพุทธจริยธรรม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 , จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เมื่อวันที่13 กรกฎาคม 2560, หน้า 187-191 [Proceeding]. |
1. | Niraj Ruangsan, Wichian Sanmee, Prapas Kaewketpong, Kritsakorn Onlamul and Ven.Tuyen Tran. (2024). Navigating the Future: Challenges and Innovations in Teaching Social Studies in the 21st Century Global Perspective. In The 6th National and 4th International Conference 2024. “Buddhist innovation and the creation of a Sustainable Peaceful Society.”, During 27 March 2024, pp. 1279-1298. [Proceeding] . Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Mahachulalongkornrajavidyalaya University. |
HS 877 102 | Analysis of Buddhis and Buddhis Philosophy |
HS 877 103 | Analysis of Philosophy and Religion in India |
HS 857 209 | Current Issues in the Mekong Region |
HS 821203 | Introduction to Religion |
HS 821204 | Comparative Religion |
HS 821206 | Introduction to Buddhism |
HS 821207 | Buddhism and Thai Society and Culture |
HS 821215 | Buddhism in Thailand |
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น