ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | ปร.ด.(ไทศึกษา) | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประเทศไทย | 2560 |
ปริญญาโท | ศศ.ม (สังคมวิทยาการพัฒนา) | มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย | 2543 |
ปริญญาตรี | ศศ.บ (ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ) | มหาวิทยาลัยศรีนครีนทรวิโรฒบางแสน ประเทศไทย | 2527 |
1. | มานะ นาคำ. (2561). การพัฒนาองค์กรและเครือข่ายชุมชน(Community Network and Organization Development). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
2. | สมพันธ์ เตชะอธิก มานะ นาคำและคณะ. (2541). อบต. ในอุดมคติ. ขอนแก่น: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
3. | สมพันธ์ เตชะอธิก มานะ นาคำและคณะ. (2540). การพัฒนาความเข้มแข็งขององค์กรชาวบ้าน. ขอนแก่น: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
1. | มานะ นาคำและคณะ. (2564). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการประเมินผลและติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น(กปท.) โดยหน่วยงานภายนอก ปี 2564. ขอนแก่น: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น. (). |
2. | )มานะ นาคำ. (2563). การสร้างพื้นที่ความรู้และปฏิบัติการของครอบครัวข้ามวัฒนธรรมในประเด็นสิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (). |
3. | สินี ช่วงฉ่ำ มานะ นาคำและคณะ. (2563). รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น โครงการถอดความรู้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบบสร้างเสริมศักยภาพสู่การขับเคลื่อนบทบาทองค์กรชุมชนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สำนักงานกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (). |
4. | มานะ นาคำ มนต์ชัยผ่องศิริ และณัฐพล มีแก้ว. (2559). การเปลี่ยนแปลงและการเสริมสร้างประชาธิปไตยในชนบทอีสาน.. : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (). |
5. | กุลธิดา ท้วมสุข ผศ.ดร. รัตนา จันทร์เทาว์ ดร.ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล อิมรอนโสะสัน มานะ นาคำ วนิชา ณรงค์ชัย ขวัญนคร สอนหมั่น. (2558). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง โครงการวิจัย ทัศนคติและความพึงพอใจของชุมชนต่อการดำเนินงานด้านความปลอดภัยต่อสังคมขององค์กร ของบริษัท ปตท .สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด(มหาชน). : . (). |
6. | บัวพันธ์ พรหมพักพิง มานะ นาคำและคณะ. (2555). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงและผลต่อความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์. ขอนแก่น: กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน เสนอต่อ UNDP. (). |
7. | มานะ นาคำและคณะ. (2554). ถอดบทเรียนศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (). |
8. | อภิศักดิ์ ธีระวิศิษฐ์ และมานะ นาคำ. (2551). โครงการวิจัยนำร่องขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมเชิงพื้นที่จังหวัดขอนแก่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). (). |
9. | สมพันธ์ เตชะอธิก มานะ นาคำและคณ. (2551). โครงการศึกษาสรุปบทเรียนและติดตามผลการพัฒนาระบบการถ่ายโอนสถานีอนามัยไปยังองค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.) กระทรวงสาธารณสุข. (). |
10. | สมพันธ์ เตชะอธิก มานะ นาคำและคณะ. (2550). โครงการติดตามประเมินผลแผนและโครงการฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรภาคอีสาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร. (). |
11. | บัวพันธ์ พรหมพักพิง มานะ นาคำและคณะ. (2550). โครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชนในระดับอำเภอ. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (). |
12. | มานะ นาคำและคณะ. (2550). โครงการประเมินผลการเกษตรเพื่อสุขภาพลุ่มน้ำเลย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (). |
13. | มานะ นาคำและคณะ. (2549). โครงการกระบวนการเรียนรู้และจัดการความรู้ของชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (). |
14. | สินี ช่วงฉ่ำ มานะ นาคำและคณะ. (2547). โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อประเมินผลโครงการขององค์กรเอกชนที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: กองทุนสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (). |
15. | พัชรินทร์ ลาภานันท์ มานะ นาคำและคณะ. (2547). โครงการวิจัยภูมิปัญญาอีสานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาภูมิปัญญาการจัดการน้ำในเขตลุ่มน้ำชีตอนบน. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (). |
16. | มานะ นาคำและคณะ. (2547). โครงการประเมินผลการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนของเกษตรกรรายย่อย ภูมินิเวศเทือกเขาเพชรบูรณ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืนแห่งประเทศไทย. (). |
17. | จรินทร์ บุญมัธยะ มานะ นาคำและคณะ. (2546). โครงการสังเคราะห์องค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและองค์กรชุมชนต่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดในภาคอีสาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานปราบปรามยาเสพติด. (). |
18. | สินี ช่วงฉ่ำ มนะนาคำและคณะ. (2545). โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก/แผนสนับสนุนโครงการขนาดเล็กของชุมชน. กรุงเทพฯ: กองทุนสิ่งแวดล้อมโลก UNDP. (). |
19. | พัชรินทร์ ลาภานันท์,เบญจวรรณ นาราสัจจ์และมานะ นาคำ. (2544). โครงการศึกษา “กระบวนการปรับตัวทางวัฒนธรรมของชาวชนบทที่ได้รับผลกระทบจากโครงการพัฒนาของรัฐ : กรณีศึกษาเขื่อนปากมูล”. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (). |
20. | สมพันธ์ เตชะอธิก มานะ นาคำและคณะ. (2544). โครงการประเมินผลองค์กรชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อการลงทุนทางสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนเพื่อสังคม. (). |
21. | ) ธนะจักร เย็นบำรุง มานะ นาคำและคณะ. (2542). โครงการวิจัยบทบาทองค์กรชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดการพื้นที่ป่าชุมชน. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (). |
22. | สินี ช่วงฉ่ำ มานะ นาคำและคณะ. (2540). โครงการวิจัยการอนุรักษ์และคุ้มครองป่าวัฒนธรรม จังหวัดสุรินทร์. กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม. (). |
23. | สมพันธ์ เตชะอธิก มานะ นาคำและคณะ. (2540). โครงการวิจัยรูปแบบและแนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรบริหารส่วนตำบล จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดศรีสะเกษ. กรุงเทพฯ: สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (). |
24. | บัญชร แก้วส่อง มานะ นาคำและคณะ. (2540). โครงการประเมิลผลการส่งเสริมเกษตรกรปลูกป่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (). |
1. | พัฒนภาณุ ทูลธรรม และ มานะ นาคำ. (2566). “อัตวิสัยต่อการรับรู้ความรุนแรงในครอบครัวของสมาชิกเครือข่ายทางสังคม ตำบลห้วยสามพาด อำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี.” Journal of Social Science Panyapat วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์, 2023 (Volume 5, Issue 4). หน้า pp.129-146. |
2. | มานะ นาคำ. (2565). “การผสมกลมกลืนวัฒนธรรมของคู่สมรสที่แต่งงานข้ามวัฒนธรรมในขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 31 (1). หน้า 160-181. |
3. | มานะ นาคำ, มนต์ชัย ผ่องศิริ และ ณัฐพล มีแก้ว. (2564). “อีสานเปลี่ยนผ่าน: การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมและโครงสร้างความรู้สึกในชนบทอีสาน.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (1). หน้า 1-25. |
4. | มานะ นาคำ. (2564). “การแบ่งปันที่ดินของชุมชนริมทางรถไฟที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างรถไฟทางคู่ กรณีศึกษาชุมชนเทพรักษ์ 1 และ 5 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (1). หน้า 31-49. |
5. | ลภัส อมรพลังและมานะ นาคำ. (2564). “การแบ่งปันที่ดินของชุมชนริมทางรถไฟที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างรถไฟทางคู่ กรณีศึกษาชุมชนเทพารักษ์1และ5 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564). หน้า -. |
6. | Monchai Phongsiri, Mana Nakham and Nattapon Meekaew. (2563). “Rural Restructuring and Democratization in the North of Thailand.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 16 (1 (มกราคม-เมษายน)). หน้า -. |
7. | มานะ นาคำ, สมชัย ภัทรธนานันท์. (2561). “ความท้าทายต่อชุมชนปฏิบัติชาวสวนลุ่มน้ำแม่กลอง.” วารสารวิชาการ รมยสาร, 16 (1). หน้า 61-82. |
8. | มานะ นาคำ, สมชัย ภัทรธนานันท์. (2560). “ผู้ประกอบการชาวสวนลุ่มน้ำแม่กลอง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 193-222. |
9. | มานะ นาคำ. (2559). “การดำรงชีพของชาวสวนผสมแบบยกร่องลุ่มน้ำแม่กลอง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 33 (3). หน้า 163-192. |
10. | มานะ นาคำ. (2559). “ชุมชนปฏิบัติของชาวสวนผสมผสานแบบยกร่องลุ่มน้ำแม่กลอง.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 12 (3). หน้า 107-130. |
11. | มานะ นาคำ, มนต์ชัย ผ่องศิริ และฐากูร สรวงศ์สิริ. (2556). “แนวการศึกษากระบวนการไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยในชนบท .” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 9 (2). หน้า . |
12. | มานะ นาคำ และ พะเยาว์ นาคำ. (2555). “ครอบครัว ผู้ป่วย อาสาสมัคร ชุมชน เรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพ.” วารสารคณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 29 (2). หน้า -. |
13. | มานะ นาคำ. (2554). “บทวิจารณ์หนังสือ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 28 (1). หน้า 124-127. |
1. | Phongsiri, M. , Nakham, M. & Meekaew, N. (2020). "Rural restructuring and democratization in the Northeast of Thailand". Journal of Mekong Societies, 16 (1). Page 44 - 66. |
1. | เบญจมาศ ชุมตรีนอก และมานะ นาคำ. (2564). มุมมองของคนไร้บ้านที่มีต่อ “บ้าน”. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมการจัดการ :การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมแบบวิถีปกติใหม่”, จัดโดยวิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่7 พฤษภาคม 2564. |
2. | เบญจมาศ ชุมตรีนอก และมานะ นาคำ. (2564). “บ้าน” ของคนไร้บ้านขอนแก่น. ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2564, จัดโดยมหาวิทยาลัยปทุมธานี เมื่อวันที่24 เมษายน 2564. |
3. | นวรัตน์ เสียงสนั่นและมานะ นาคำ. (2564). ยุทธศาสตร์การดำรงชีพของวิถีประมงชุมชนในลุ่มน้ำมูลตอนกลางหลังการสร้างเขื่อนราศีไศล. ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2564 , จัดโดยมหาวิทยาลัยปทุมธานี เมื่อวันที่24 เมษายน 2564. |
4. | พิศมัย นามพรม และมานะ นาคำ. (2563). การเปลี่ยนแปลงเครือข่ายชุมชนที่ใช้กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน กรณีศึกษาชุมชนรอบโรงไฟฟ้า อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ . ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ประจำปี 2563 “ราชธานีวิชาการครั้งที่ 5”, จัดโดยมหาวิทยาลัยราชธานี เมื่อวันที่29 พฤษภาคม 2563. |
1. | Mana Nakham ,Monchai Phongsiri and Thagoon soravongsiri. (2013). Approaches to study of Rural Democratization. In In 9th International Conference on Humanities and Social Sciences 2013, During 14-พ.ย.-13. Faculty Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. |
HS 492 996 | Dissertation |
420 716 | Rural Development in the Socio-economic Transitioning Society |
420 100 | Community-based Learning |
420 230 | Social Development Practice II |
420 320 | Social Development Practice III |
420 334 | Learning Process for Social Development |
420 442 | Community Network and Organization Development |
420 443 | Knowledge Management for Development |
420 495 | Cooperative Education in Social Development |
Link ที่เกี่ยวข้อง : GS-FROM REG REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น