ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (การบริหารการพัฒนา) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประเทศไทย 2564
ปริญญาโท รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประเทศไทย 2557
ปริญญาตรี ศศ.บ. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2553

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. บัณฑิต สุนทรวิกรานต์, ฐาลินี สังฆจันทร์ และศราวุธ มาเฉลิม. (2565). รายงานผลการสนับสนุนการขับเคลื่อน จังหวัดส่งเสริมคุณธรรมในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) . (ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน). (จำนวน 120 หน้า).
2. บัณฑิต สุนทรวิกรานต์, ฐาลินี สังฆจันทร์ และศราวุธ มาเฉลิม. (2564). รายงานผลการจัดกิจกรรมการประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามการส่งเสริมคุณธรรมของกลไกคณะทำงานกลุ่มเครือข่ายทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนคุณธรรมเชิงพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564. กรุงเทพฯ: ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน). (ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน). (จำนวน 134 หน้า).
3. เกษมศานต์ โชติชาครพันธุ์, เนตรนภิศ ละเอียด, ศราวุธ มาเฉลิม, ปัณณชล ขัตติสร, ฐาลินี สังฆจันทร์, อานนท์ ฉัตรเงิน, ธีรศักดิ์ ผสมทรัพย์, วราวิทย์ มหัส, ภนณัฐ พ่วงภู่ และนภชนก โกศลโพธิทรัพย์. (2564). โครงการวิจัยเพื่อเสริมสร้างทัศนคติและวัฒนธรรมทางการเมือง แบบมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขสู่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (จำนวน 162 หน้า).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. บัณฑิต สุนทรวิกรานต์ ฐาลินี สังฆจันทร์ และ ศราวุธ มาเฉลิม. (2565). “การขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมสังคมคุณธรรมโดยเครือข่ายทางสังคม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.” PAAT Journal, 4 (7). หน้า 103-126.
2. ฐาลินี สังฆจันทร์ และ ณัฐกริช เปาอินทร์. (2564). “ข้อมูลเปิดของภาครัฐ: การนำหลักการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐไปสู่การปฏิบัติของ 10 ประเทศชั้นนำ.” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 38 (2). หน้า 1-29.
3. ฐาลินี สังฆจันทร์. (2564). “ข้อมูลเปิดของภาครัฐ: กุญแจสำคัญในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและการต่อสู้กับการทุจริตคอร์รัปชัน.” วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 19 (2). หน้า 41-70.
4. ณัฐกริช เปาอินทร์ และ ฐาลินี สังฆจันทร์. (2563). “กลยุทธ์ในการใช้ประโยชน์และการปลดปล่อยคุณค่าของข้อมูลในยุคดิจิทัล เพื่อเพิ่มพูนการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพและศักยภาพการแข่งขัน ในองค์การภาครัฐและภาคเอกชน.” วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 18 (2). หน้า 59-100.
5. ฐาลินี สังฆจันทร์ และ อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี. (2558). “การบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการสร้างความเป็นพลเมือง กรณีศึกษา เทศบาลเมืองเขาสามยอด จังหวัดลพบุรี.” วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 10 (32). หน้า 66-73.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Sangkachan, T. & Powintara, N. (2022). "Data-Driven Government: Essential Mechanisms to Unleash the Power of Data". International Journal of Electronic Government Research, 18 (1). Page 1-19.
2. Sangkachan, T. (2022). "APPLYING THE OODA AND PDCA MODELS IN ORDER TO ENHANCE THE AGILITY AND ADAPTABILITY OF GOVERNMENT TO WIN THE COVID-19 WAR: LESSONS LEARNED FROM TAIWAN". Humanities, Arts and Social Sciences Studies, 22 (2). Page 235–254.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. บัณฑิต สุนทรวิกรานต์ ฐาลินี สังฆจันทร์ และศราวุธ มาเฉลิม. (2565). การขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมสังคมคุณธรรม โดยเครือข่ายทางสังคม กรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ในงานประชุมวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 14 (หน้า 467-486), จัดโดยสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่25 มีนาคม 2565.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Nipapan Jensantikul, Rakpong Sansri, and Thalinee Sangkachan. (2023). Digital Government: Concepts to apply Technology and Innovation for Public Service. In 18th International Conference on Humanities and Social Sciences 2023 (IC-HUSO 2023), During 27th November 2023. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์)
HS 471 903 การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะขั้นสูงในบริบทโลก
HS 471 993 สัมมนาทางการจัดการการเงินการคลังสาธารณะ
HS 471 994 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการภาวะวิกฤติ
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต)
HS 457 106 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์
HS 457 203 การบริหารการบริการสาธารณะในบริบทโลก
HS 457 209 การจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะ
HS 457 899 วิทยานิพนธ์
       5.3 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต)
HS 411 101 รัฐประศาสนศาสตร์ขั้นแนะนำ
HS 412 103 นโยบายสาธารณะ
HS 412 104 หลักและเทคนิคการวางแผน
HS 412 303 เศรษฐศาสตร์สำหรับรัฐประศาสนศาสตร์
HS 412 401 การอ่านและการเขียนเชิงวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์
HS 412 406 การบริหารโครงการเชิงกลยุทธ์
HS 413 106 การบริหารการคลังภาครัฐ
HS 413 403 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
HS 413 405 ระเบียบวิธีปฏิบัติราชการและการบริหารการบริการสาธารณะ
HS 413 605 การจัดการข้อมูลเพื่อการบริหารงานสาธารณะ
HS 413 606 การบริหารงานสาธารณะแบบดิจิทัล
HS 414 407 จิตวิทยาในการบริหาร
HS 414 761 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์
HS 414 785 สหกิจศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น