ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2557
ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประเทศไทย 2557
ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประเทศไทย 2552
ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประเทศไทย 2542

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2561). การเขียนโปรแกรมเว็บเบื้องต้นด้วย PHP & MySQL. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. กุลธิดา ท้วมสุข วิระพงศ์ จันทร์สนาม จุฑาทิพย์ ไชยกำบัง และณัฐพงศ์ แก้วบุญมา. (2561). การวิจัยมนุษย์ศาสตร์ดิจิทัล. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. Thai Trinh Ngoc และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2566). “การจัดการระบบองค์ความรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ในเวียดนามและการเชื่อมโยงแบบเปิด.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 41 (2). หน้า 102-113.
2. รุจิรา ริคารมย์ และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2566). “การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสร้างเครื่องมือการวิจัยแบบเดลฟายออนไลน์.” วารสารธรรมศาสตร์, 42 (3). หน้า 52-74.
3. ราชวิทย์ ทิพย์เสนา และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2566). “สมรรถนะหลักของแรงงานในธุรกิจอุตสาหกรรมดิจิทัล.” Journal of Information and Learning, 34 (3). หน้า 166-178.
4. จุฑามาศ พรหมทอง มาลี กาบาลา และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2565). “พฤติกรรมการค้นคืนและเข้าถึงความรู้วัฒนธรรมผ้าทอกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมร.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 42 (5). หน้า 38-50.
5. ธัญญาลักษณ์ ใจเที่ยง มาลี กาบมาลา และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2565). “การวิเคราะห์และการจัดหมวดหมู่เนื้อหาเพลงลูกทุ่งร่วมสมัย ด้วยแนวทางการแยกสังเคราะห์.” วารสารห้องสมุด, 66 (2). หน้า 63-82.
6. จุฑามาศ พรหมทอง และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2565). “https://tci-thailand.org/wp-content/themes/magazine-style/tci_search/article.html?b3BlbkFydGljbGUmaWQ9NjcxMDUx.” วารสารร่มพฤกษ์, 40 (2). หน้า 189-206.
7. ยุวภา รือเกอร์ มาลี กาบมาลา และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2565). “การพัฒนาออนโทโลยีคำแนะนำสำหรับบริการสนับสนุนการวิจัยของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 40 (2). หน้า 95-115.
8. ภัครพล อาจอาษา วิโรจน์ อภินันท์ธนากร ประมุข ศรีชัยวงษ์ และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2564). “การพัฒนาเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิล โดยใช้อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งเป็นฐาน.” วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์, 6 (3). หน้า 531-544.
9. อุมาวดี เดชธำรงค์ และผศ.ดร.วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2563). “ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษา สถาบันการเงินชุมชนในจังหวัดชัยภูมิ.” วารสารสมาคมนักวิจัย, 25 (1). หน้า 72-89.
10. ธัญญกร ดีพร้อม ดณุพล ค่ายหนองสวง วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2563). “การพัฒนาระบบตอบคำถามอัตโนมัติ: กรณีศึกษา บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน).” วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 6 (2). หน้า 7-19.
11. ภรศิษฐ์ เกิดบ้านชัน ธนภัทร เง็กสูงเนิน และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2563). “การพัฒนาระบบสนทนาอัตโนมัติสำหรับให้บริการข้อมูล บริษัท สมาร์ทคลิก โซลูชั่น จำกัด.” วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 6 (2). หน้า 20-30.
12. อุมาวดี เดชธำรงค์, วิระพงศ์ จันทร์สนาม และณัฐพศุตม์ ภัทธิราสินสิริ. (2563). “ปัจจัยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของผู้บริโภคออนไลน์ในประเทศไทย.” วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 9 (1). หน้า 44-64.
13. สมพงษ์ วะทันติ, กุลธิดา ท้วมสุข และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2563). “การพัฒนาออนโทโลยีความรู้เกี่ยวกับประเพณีฮีตสิบสอง.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 38 (2). หน้า 53-69.
14. อุมาวดี เดชธำรงค์, ผศ.ดร.วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2562). “กรอบแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยเชิงสาเหตุและปัจจัยผลลัพธ์ความผูกพันอย่างลึกซึ้งของลูกค้า.” วารสารการจัดการสมัยใหม่, 17 (2). หน้า 1-8.
15. อุมาวดี เดชธำรงค์, นารีรัตน์ ภักดีศิริวงษ์ และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2562). “อิทธิพลของการบริหารความเสี่ยงที่มีต่อความได้เปรียบในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 39 (1). หน้า 77-95.
16. อุมาวดี เดชธํารงค์, ผศ.ดร.วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2561). “การพัฒนาแอปพลิเคชันการปฐมพยาบาลบนโทรศัพทrมือถือสําหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูnบoานในประเทศไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 36 (4). หน้า 18-38.
17. เสกศักดิ์ ปราบพาลา, วิระพงศ์ จันทร์สนาม, และ อุมาวดี เดชธำรงค์. (2561). “การพัฒนาระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดชัยภูมิ.” วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 2 (1). หน้า 37-49.
18. อุมาวดี เดชธำรงค์ และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2561). “การพยากรณ์ข้อมูลอนุกรมเวลาราคาปิดหุ้นของบริษัทจดทะเบียนด้วยตัวแบบ ARIMA.” วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร, 13 (2). หน้า 57-72.
19. วิระพงศ์ จันทร์สนาม และอุมาวดี เดชธำรงค์. (2561). “การวิเคราะห์หนี้สินภาคครัวเรือนในประเทศไทย: การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับเทคโนโลยีลิงก์ดาต้า.” วารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย, 19 (0). หน้า 78-90.
20. สุภธัชวุฒิ ตู้พจ และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2561). “ผลกระทบของภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ต่อผลการดำเนินงานของสถาบันการเงินชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารการจัดการสมัยใหม่, 16 (1). หน้า 38-45.
21. วิระพงศ์ จันทร์สนาม, ภัทรภรณ์ หิรัญคำ, มัสยา หงษ์คำมี, และอิทธิพล สำราญรื่น. (2561). “ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นและพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดของร้านอาหารประเภทบริการตนเองในจังหวัดชัยภูมิ.” วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10 (1). หน้า 29-40.
22. สุภธัชวุฒิ ตู้พจ และวิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2561). “ผลกระทบของผู้นำเชิงกลยุทธ์ต่อผลการดำเนินงานของสถาบันการเงินชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารการจัดการสมัยใหม่, 16 (1). หน้า 37-46.
23. วิระพงศ์ จันทร์สนาม, เสกศักดิ์ ปราบพาลา และอุมาวดี เดชธำรงค์. (2560). “การพัฒนาระบบสารสนเทศทางการเงินสำหรับสถาบันการเงินชุมชนในประเทศไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 35 (4). หน้า 74-91.
24. วิระพงศ์ จันทร์สนาม, ภัชรพงษ์ วัชรมณเฑียร, สาธิต ยาวยืน และ ชมพูนุท ฮุงสูงเนิน. (2560). “ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใช้บริการคาร์แคร์ในจังหวัดชัยภูมิ.” วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 1 (2). หน้า 40-53.
25. วิระพงศ์ จันทร์สนาม และปรัชญา อารีกุล,พ.อ. (2559). “กรอบการทำงานของระบบการจัดการความรู้ฟาร์มอัจฉริยะ.” วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 14 (1). หน้า 91-100.
26. วิระพงศ์ จันทร์สนาม กฤตเมธ นิติวัฒนะ และอุมาวดี เดชธำรงค์. (2559). “ผลกระทบของความสามารถทางการปฏิบัติงานต่อความสำเร็จในการทำงาน ของพนักงานสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35 (1). หน้า 220-239.
27. วิระพงศ์ จันทร์สนาม กฤตเมธ นิติวัฒนะ และอุมาวดี เดชธำรงค์. (2559). “ผลกระทบของความสามารถทางการปฏิบัติงานต่อความสำเร็จในการทำงานของพนักงานสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมสาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35 (2). หน้า 229-239.
28. วิระพงศ์ จันทร์สนาม, วิภา เจริญภัณฑารักษ์ และนิศาชล จำนงศรี. (2559). “การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับงานทางด้านประวัติศาสตร์.” วารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย, 17 (0). หน้า 345-357.
29. ผศ.ดร.วิระพงศ์ จันทร์สนาม และปรัชญา อารีกุล. (2557). “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงภูมิปัญญาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารวิชาการ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 12 (พิเศษ). หน้า 29-44.
30. วิระพงศ์ จันทร์สนาม กุลธิดา ท้วมสุข และมารุต บูรณรัช. (2556). “แนวทางการพัฒนาออนโทโลยีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมบนพื้นฐานแนวคิด CIDOC CRM.” วารสารวิชาการ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า , 11 (-). หน้า 75-84.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Kwiecien, K., Chansanam, W., Supnithi, T., Chitiyaphol, J. & Tuamsuk, K. (2021). "Metadata schema for folktales in the Mekong River Basin". Informatics, 8 (4). Page 82.
2. Yosakonkun, S., Tuamsun, P., Chansanam, W. & Tuamsuk, K. (2021). "Metadata schema for managing digital data and images of Thai human skulls". Data, 6 (11). Page 114.
3. Chansanam, W., Kwiecien, K., Buranarach, M. & Tuamsuk, K. (2021). "A digital thesaurus of ethnic groups in the Mekong River Basin". Informatics, 8 (3). Page 50.
4. Chansanam, W, Tuamsuk, K., Poonpon, K., & Ngootip, T. (2021). "Development of online learning platform for thai university students". International Journal of Information and Education Technology, 11 (8). Page 348-355.
5. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Kwiecien, K., Sutthiprapa, K., Supnithi, T. (2021). "Thai tattoo wisdom’s representation of knowledge by ontology". Informatics, 8 (1). Page 3.
6. Chansanam, W., Kwiecien, K., Chaikhambung, J., Tuamsuk, K.. (2021). "Development of Smart Library System for Thailand's Primary School Teachers". Review of International Geographical Education Online, 11 (5). Page 4257-4275.
7. Chansanam, W., Tuamsuk, K., & Supnithi, T. (2020). "Digital content management of Heet Sib Sorng custom for semantic search". Periodicals of Engineering and Natural Sciences, 8 (3). Page 1935-1950.
8. Kaewboonma, N., Chansanam, W., & Buranarach, M. (2020). "Ontology-Based Big Data Analysis for Orchid Smart Farming". LIBRES, 29 (2). Page 91-98.
9. Wathanti, S., Chansanam, W., & Tuamsuk, K. (2020). "Thai Custom Information Sharing on the Internet by Linked Data Techniques". Journal of Critical Reviews, 7 (8). Page 1398-1402.
10. Chansanam, W., Tuamsuk, K., Chaikhambung, J. & Sugimoto, S. (2020). "Linked Open Data Framework for Ethnic Groups in Thailand Learning". International Journal of Emerging Technologies in Learning, 15 (10). Page 140-156.
11. Chansanam, W., Tuamsuk, K., & Chaikhambung, J. (2020). "Development of Ethnic Groups in Thailand Linked Open Data". International Journal of Advanced Science and Technology, 29 (6s). Page 1498-1511.
12. Chansanam, W., & Detthamrong, U. (2020). "Impact of Information Behavior Online towards Customer Loyalty in Mobile Applications in Thailand". International Journal of Advanced Science and Technology, 29 (4s). Page 654-670.
13. Hnubanko, S., Chansanam, W., & Tuamsuk, K. (2020). "A Classification of Thai Youth on Using Social Network from Online Behaviours". International Journal of Advanced Science and Technology, 29 (4s). Page 685-698.
14. Chansanam, W., & Tuamsuk, K. (2020). "Thai Twitter Sentiment Analysis: Performance Monitoring of Politics in Thailand using Text Mining Techniques". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 11 (12). Page 436-452.
15. Chansanam, W., & Detthamrong, U. (2018). "Online Customer Loyalty Components in Thailand E-Commerce Industry". Journal of Business Administration, 41 (158). Page 70-93.
16. Tuamsuk, K., Chansanam, W., & Kaewboonma, N. (2018). "Ontology of folktale in the Greater Mekong Subregion". International Journal of Metadata, Semantics and Ontologies, 13 (1). Page 57-67.
17. Tuamsuk, K., Kaewboonma, N., Chansanam, W., & Leopenwong, S. (2016). "Taxonomy of Folktales from the Greater Mekong Sub-region". Knowledge Organization Journal, 43 (6). Page 431-439. (ISI Q2).

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Panawong, J., Kaewboonma N., Chansanam, W. (2018). Building an ontology of flora of Thailand for developing semantic electronic dictionary. In The 3rd International Conference on Applied Science and Technology (ICAST’18), During 10-12 April, 2018. , Penang, Malaysia, doi : https://doi.org/10.1063/1.5055520.
2. Chansanam, W., & Detthamrong, U. (2017). Effect of Online Consumer Attitudes towards Customer Loyalty in E-Commerce Mobile Applications in Thailand. In Sintok International Conference on Social Science and Management (SICONSEM 2017), During 4-5 December, 2017. , Adya Hotel, Langkawi, Malaysia,p 34-37.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     5     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา)
HS 287 992 Special Topics in Information System and Technology
HS 287 996 Dissertation
HS 287 998 Dissertation
HS 287 998 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์)
412 899 Thesis
HS 248 899 Thesis
HS 267 715 Digital Governance and Open Data
HS 267 896 Thesis
HS 267 898 Thesis
HS 267 899 Independent Study
       5.3 ระดับปริญญาตรี (สารสนเทศศาสตรบัณฑิต)
HS 212 303 Data and Information Analytic

6. ความเชียวชาญ : สารสนเทศศาสตร์

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น