ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก PhD. (Anthropology) University of Toronto Canada 2554
ปริญญาโท สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2543
ปริญญาตรี วท.บ. (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย 2538

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วสันต์ ปัญญาแก้ว พิมลพรรณ ไชยนันท์ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง และกรวรรณ บัวดอกตูม. (2563). แม่สอด เชียงของ: เศรษฐกิจ การพัฒนา และชีวิตของผู้คนในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า-ลาว. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2561). เอกสารประกอบการสอนวิชา 415225 (แนวความคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา). ขอนแก่น: กลุ่มวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2559). พลวัตทางชาติพันธุ์ของคนลาวพลัดถิ่นชายแดนบนปลายตะวันตกสุดของระเบียงเศรษฐกิจ แนวตะวันออก-ตะวันตกของรัฐไทย. -: -.
4. วิลาสินี โสภาพล. (2559). ชุมชนข้ามถิ่น: การก่อร่างทางอัตลักษณ์ของแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่าในจังหวัด ขอนแก่น. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น..
5. สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น.. (2557). เนื้อหาวิชา 000156 (พหุวัฒนธรรม) หัวข้อ วัฒนธรรม อาเซียน. -: -.
6. สำนักงานคณะกรมการข้าราชการพลเรือน. (2556). บทเรียนออนไลน์วิชา “การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม”. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรมการข้าราชการพลเรือน.
7. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2554). “วัฒนธรรมกับวิถีชีวิตของมนุษย์” ในเอกสารคำสอนวิชา 000 156 พหุวัฒนธรรม (Multiculturalism). ขอนแก่น: สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
8. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง และ ฟ้ารุ่ง มีอุดร. (2553). คนพลัดถิ่น คนไร้รัฐ: ความเป็นคนที่รอการรับรอง. สังคมสวัสดิการ: คน ครอบครัว ชุมชน สู่ความอยู่ดีมีสุข. ขอนแก่น: สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5, 6, 7 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
9. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง (รวบรวม). (2544). รายงานการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาปริญญาโทด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 1 วันที่ 6-7 ตุลาคม 2544. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและ​มานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
10. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2543). เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขาสังคมวิทยา ครั้งที่ 1 เรื่อง สถานภาพผลงานวิจัยเกี่ยวกับพลวัตการปรับตัวของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

3.2 งานวิจัย    
1. พิมลพรรณ ไชยนันท์, วสันต์ ปัญญาแก้ว และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2562). รายงานการวิจัยเรื่อง การเดินทาง ข้ามแดน การท่องเที่ยว และยุทธศาสตร์การปรับตัวของกลุ่มผู้ประกอบการท้องถิ่น ในพื้นที่โครงการ พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนจังหวัดตากและจังหวัดเชียงราย. -: -. (ภายใต้โครงการวิจัยเครือข่ายพันธมิตร มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย กลุ่มวิจัยการเคลื่อนย้ายของประชากรอาเซียนหลังการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน 2015 ได้รับทุนวิจัยจาก สกว).
2. พนิดา ธนาวิรัตนานิจ, ขวัญชนก ยิ้มแต้, เบญจมาศ พระธานี, พรเทพ เกษมศิริ, ภาธร ภิรมย์ไชย และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2561). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาแผนการเพิ่มจำนวนนักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย และการกระจายตัวที่เหมาะสม. ขอนแก่น: คณะแพทยศาสตร์ . (มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
3. ภานุวัฒน์ ภักดีอักษร และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2557). รายงานการวิจัยเรื่อง สภาพปัญหาและผลกระทบจากการเปิดธุรกิจสถานบันเทิงยามราตรีที่มีต่อชุมชนเมืองเก่าจังหวัดภูเก็ต. ภูเก็ต: คณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต. ().
4. กุลธิดา ท้วมสุข กัญญารัตน์ เควียเซ่น กรวิภา พูลผล และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2554). การศึกษาความ​พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่สำเร็จ​การศึกษาในปีงบประมาณ 2553. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ​มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
5. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2543). ชุมชนมุสลิมในเมืองตลาดชายแดนไทย - พม่า :สัมพันธ์ภาพระหว่าง พหุสังคม วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจและการธำรงชาติพันธุ์. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต สาขา​มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.. ().
6. Cadchumsang, Jaggapan. (2011). People at the Rim: A Study of Tai Ethnicity and Nationalism in a Thai Border Village. Ontario, Canada: Ph.D. dissertation, University of Toronto. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. อรัญ จำนงอุดม และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง . (2566). “ความหมายที่เปลี่ยนแปลงของพระธาตุพนมในบริบทประวัติศาสตร์ ไทย-ลาว.” Humanity and Social Science Journal, Ubon Ratchathani University วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2023 (Volume 14, Issue 1). หน้า pp.34-65.
2. วัลลภ บุญทานัง และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2566). “ทุนของผู้ค้าชายแดนรายย่อยในพื้นที่จุดผ่อนปรนการค้าชายแดนไทย-ลาว.” วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6 (2). หน้า 643-662.
3. สิระมนตร์ เวฬุวนารักษ์ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง และรักชนก ชำนาญมาก. (2565). “พ่อล่ามแม่ล่าม: วัฒนธรรมของชาวผู้ไทว่าด้วยการจัดสวัสดิการชุมชน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22 (2). หน้า 135-151.
4. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2564). “ชาติพันธุ์วรรณาดิจิทัล: ความท้าทายและแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์.” วารสารมานุษยวิทยา, 4 (2). หน้า 109-142.
5. วรัญญา ศรีริน พรอัมรินทร์ พรหมเกิด และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2564). “วัฒนธรรมทางการเมืองหลักกับการพัฒนาประชิปไตยของคนชนบทอีสานในวันนี้.” Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia, 27 (3 (กันยายน-ธันวาคม)). หน้า 43-86.
6. ศิวกร ราชชมภู และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2563). “ภาวะพลเมืองโลกและการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมา ในเขตเมืองขอนแก่น.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 8 (1). หน้า 137-155.
7. ลักษิกา เงาะเศษ และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2562). “การสร้างชุมชนข้ามถิ่นและเครือข่ายทางสังคมของมุสลิมในจังหวัด หนองคาย.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36 (3). หน้า 95 - 121.
8. วิลาสินี โสภาพล และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2562). “งานบุญข้ามถิ่น: การจัดวางตัวตนใหม่และการต่อรองของแรงงาน ข้ามชาติสัญชาติพม่าในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารราชภัฏสุราษฏ์ธานี, 6 (1). หน้า 95 - 111.
9. สุดารัตน์ ศรีอุบล และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2562). “ สินค้าสัตว์ป่า: ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของผู้ค้าลาวในตลาด ชายแดนไทย-สปป.ลาว.” วารสารไทยคดีศึกษา, 16 (1). หน้า 173-229.
10. สุดารัตน์ ศรีอุบล และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2562). “พลวัตของการควบคุมจัดการพื้นที่ตลาดชายแดนไทย-สปป. ลาว จังหวัดหนองคาย ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 37 (1). หน้า 1-37.
11. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2561). “มานุษยวิทยากับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 35 (2). หน้า 1-48.
12. ณัฐวรรธ อุไรอำไพ, กีรติพร จูตะวิริยะ และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2561). ““ทุน” กับการสร้างเครือข่ายทางสังคมของคน ไทยเชื้อสายเวียดนามภายใต้การเปลี่ยนผ่านนโยบายในพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว จังหวัดนครพนม.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 35 (1). หน้า 219-246.
13. พิมลพรรณ ไชยนันท์ และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2560). “โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษกับการเปลี่ยนแปลงใน พื้นที่ชายแดน: บทสำรวจเบื้องต้นในบริบทพื้นที่ตากและเชียงราย.” วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, 36 (1). หน้า 102-127.
14. พันธุ์ทิพ ตาทอง และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2559). “สินไซ: หลักสูตรท้องถิ่นและกลไกอำนาจของการสร้างชุดระเบียบ วินัยทางสังคม.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 12 (3). หน้า 167-185.
15. นิภาพร มาลีลัย, จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2558). “การต่อรองกับสำนักบุญนิยมในพื้นที่พหุชาติพันธุ์ ในจังหวัดสกลนครผ่านทุนทางวัฒนธรรม และทุนทางสังคม.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 11 (2). หน้า 139-164.
16. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2558). “การต่อรองกับสำนักบุญนิยมในพื้นที่พหุชาติพันธุ์ในจังหวัดสกลนครผ่านทุนทางวัฒนธรรมและทุนทางสังคม.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 11 (2). หน้า 139-164.
17. นิภาพร มาลีลัย และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2558). “การต่อรองกับสำนักบุญนิยมในพื้นที่พหุชาติพันธุ์ในจังหวัดสกลนคร ผ่านทุนทางวัฒนธรรมและทุนทางสังคม..” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง,, 11 (2). หน้า 139 - 164.
18. ภาณุวัฒน์ ภักดีอักษร, จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2557). “ปฏิกิริยาของชุมชนเมืองเก่าภูเก็ตต่อธุรกิจสถานบันเทิงยามราตรี ในฐานะสิ่งดึงดูดใจการท่องเที่ยว.” วารสารบริหารธุรกิจ, 37 (141). หน้า 1-21.
19. ภานุวัฒน์ ภักดีอักษร และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2557). “ปฏิกิริยาของชุมชนเมืองเก่าภูเก็ตต่อธุรกิจสถาน​บันเทิงยามราตรีในฐานะสิ่งดึงดูดใจการท่องเที่ยว.” วารสารบริหารธุรกิจ, 37 (141). หน้า 1-21.
20. บงกช เจนชัยภูมิ กีรติพร จูตะวิริยะ และจักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2556). “กระบวนการจัดการตัวเองของชาวบ้านเมื่ออาศัยอยู่ในพื้นที่ท่องเที่ยว บ้านสะหว่าง เมืองวังเวียง แขวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 9 (3). หน้า 99-116.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Purwaningsih, Ayuwat, D., and Cadchumsang. J. (2021). "Transformation if Households Livelihood in Transmigration Location in Makmur Village, East – Kutai Regency, Indonesia". The International Journal of Interdisciplinary Social and Community Studies, 16 (2). Page 98-109.
2. Jutaviriya, K.. Auraiampai, N., Cadchumsang, J. and Ayuwat, D. (2020). "Social Networks: The Utilization of Capitals for Vietnamese - Thai in the Border of Thai-Lao". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 12 (12). Page 523-532.
3. Komolmal, P. and Cadchumsang, J. . (2019). "The Online Transnational Phu Thai Community: The Post “Heteroglossia”". Communications on Stochastic Analysis, 13 (5). Page 47-53.
4. Komolmal, P. and Cadchumsang, J.. (2018). "Phu Tai Transnational Ethnic: Characteristics of Ethnical Network in Post- Heteroglossia". Journal of Computational and Theoretical Nanoscience, 24 (1). Page 461-463.
5. The Transnational Narratives. (2018). "A Tool for Settling the Phu Tai Transnational Ethnic Community.". Eurasian Journal of Analytical Chemistry, 13 (6). Page 535-541.
6. Ya, Haodian and Cadchumsang, J. . (2018). "The Use of Social Capital in Organizing the Frog Festival of Baying Village in the Context of Cultural Tourism Development". Journal of Mekong Studies, 14 (1). Page 63-83.
7. Sakunasingh, Tanapa and Cadchumsang, J. . (2017). "State, Silk and Ethnicity of the Suai in Pueai Mai Village, Sisaket Province". Journal of Mekong Studies, 13 (2). Page 65-83.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง, พิมลพรรณ ไชยนันท์ และวสันต์ปัญญาแก้ว. (2561). การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการจัด ระเบียบชายแดนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของจังหวัดเชียงรายและจังหวัดตาก. ในบทความนำเสนอในงาน ประชุมวิชาการประจำปีด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่ 1, จัดโดยคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่25 สิงหาคม 2561.
2. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2561). บทบาททางเศรษฐกิจข้ามพรมแดนของผู้ค้าลาวรายย่อยภายใต้การพัฒนาในอนุภูมิภาค ลุ่มน้ำโขง. ในบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 19, จัดโดย เมื่อวันที่9 มีนาคม 2561.
3. สุดารัตน์ ศรีอุบล และจักพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2561). “ไซเตส”: กฎเกณฑ์ทางการค้าระหว่างประเทศในพื้นที่ตลาด ชายแดนไทย-สปป. ลาว.. ในบทความนำเสนอในการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคม วิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 17, จัดโดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่22-23 กุมภาพันธ์ 2561.
4. พสุธา โกมลมาลย์, จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง และ รักชนก ชำนาญมาก. (2559). ตำนานและเรื่องเล่าข้ามรัฐ: การร้อยเรียง ชุมชนชาติพันธุ์ผู้ไทข้ามรัฐชาติ. ในบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ"วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน: ภาวการณ์กลายเป็น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่, จัดโดยศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์ และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และ ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่7-8 เมษายน 2559.
5. พันธุ์ทิพย์ ตาทอง และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2559). สินไซ: การสร้างความทรงจ าร่วมทางสังคมในเมืองขอนแก่น. ในบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน: ภาวการณ์กลายเป็น” ในกระแส การเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่, จัดโดยศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่7-8 เมษายน 2559.
6. วิลาสินี โสภาพล และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2559). ขอนแก่นในยุคเปลี่ยนผ่าน: พัฒนาการพื้นที่กับการเป็นปลายทาง ของแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่า. ในบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน: ภาวการณ์กลายเป็น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่, จัดโดยศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์ และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและศูนย์วิจัย พหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่7-8 เมษายน 2559.
7. ศิริพร เชิดดอก และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2559). มานึขแมร์: การนิยามตัวตนของชาวไทยเชื้อสายเขมรในบริบทอีสาน ใต้. ใน บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน: ภาวการณ์กลายเป็น” ใน กระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่, จัดโดยศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่ม น้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่7-8 เมษายน 2559.
8. จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2558). งานบุญอีสานกับการปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทยเชื้อสายเขมรใน จังหวัดสุรินทร์. ในบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 16, จัดโดย เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2558.
9. ธนาภา ศกุนะสิงห์ และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2558). การนิยามและการแสดงตัวตนของส่วยบ้านเปือยผ่านพิธีกรรมรำแถน. ในบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 34, จัดโดย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่27 มีนาคม 2558.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Cadchumsang Jaggapan. (2019). The Development of Tak Special Economic Development Zone and the Adaptation of Local_Entrepreneurs. In Paper presented at the 15th International Conference , During 11-12 November 2019. Humanities and Social Sciences, -.
2. Cadchumsang, J. . (2019). Soft Structures, Transborder Mobilities and Adaptive Strategies of Local Entrepreneurs in Tak Special Economic Zone. In Paper presented at Tass International Conference, During 6-7 August, . Advancement in Economics Management Studies, Humanities and Social Sciences, Taipei, Taiwan..
3. Weruvanarak, S. , Cadchumsang, J. and Chumnanmak, R. . (2019). The Community Welfare System of the Phutai in Nago Sub-district, Kuchinarai District, Kalasin Province. In Paper presented at the 15th International Conference on Humanities and Social Sciences, During 11-12 November 2019. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University., Khon Kaen.
4. Cadchumsang, J. . (2018). The Construction of Laotian-Thai Identity in a Community near ThailandMyanmar Boundary.. In Paper presented at the 2 nd Japan International Conference, During 30-31 August.. Business, Management Studies and Social Science, -.
5. Sriubon, S. and Cadchumsang, J. . (2018). “Wild Fauna” The Definitions of Trans-Border Prohibited Commodities in the Context of Global Development. In Paper presented at the 9th NEU–KKU International Conference on Socio-economic and Environmental Issues in Development, During May 11-12. -, Hanoi, Vietnam. .
6. Cadchumsang, J.. (2017). Laotian Community in the Multi-ethnic Border Area of Northern Thailand. In Paper presented at the 12th International Conference, During 26-28 July, 2017.. Interdisciplinary Social Sciences, -.
7. Cadchumsang, J.. (2017). Dynamics and Physical Characteristics of the Border Marketplace in Nong Khai Province, Thailand. In Paper presented at the 12th International Conference, During 27 July, 2017. Interdisciplinary Social Sciences, -.
8. Cadchumsang, J.. (2017). Laotian Petty Traders: The Circular Flow of Economics onThai-Lao PDR Border Marketplace. In Paper presented at the 13th International Conference , During November 2-3,2017. Humanities and Social Sciences , (IC-HUSO 2017).
9. Komolmal, P. and Cadchumsang, J.. (2017). The Transnational Narrative: A Tool for Establishing the Phu Tai Transnational Ethnic Community. In Paper presented at the 13th International Conference, During July 15-18, 2017 . Thai Studies, Chiang Mai,Thailand. .
10. Ngohses, L. and Cadchusang J.. (2017). The Dynamics of Muslim Immigration and Settlement in Nong Khai. In Paper presented at the 13th International Conference on Humanities and Social Sciences (IC-HUSO 2017), During November 2-3, 2017. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
11. Sophaphol, W. and Cadchumasang J. . (2017). Khon Kaen in Transition: A Spatial Development and a Becoming of the Destination of Migrant Workers from Myanmar. In Paper presented at the 13th International Conference on Thai Studies, During July 15-18, 2017. -, Chiang Mai, Thailand. .
12. Uraiampai, N., Keeratiporn, J.and Cadchumsang, J.. (2017). Social Network Construction byVietnameseThai in the Thai-Lao Border Area, Nakhon Phanom Province. In Paper presented at the 13th International Conference on Humanities and Social Sciences (IC-HUSO 2017), During November 2-3, 2017. -, Khon Kaen, Thailand.
13. Ya, Houdian and Cadchumsang, J.. (2017). . Changes in the Frog Festival of the Zhuang in Baying Village amidst the Expansion of Cultural Tourism. In Paper presented at the 13th International Conference on Humanities and Social Sciences (IC-HUSO 2017), During November 2-3, 2017. -, Khon Kaen, Thailand..
14. Yang, Jie, Keeratiporn, J. and Cadchumsang, J.. (2017). Dynamic of Tourism Policy in China. In Paper presented at the 13th International Conference on Humanities and Social Sciences (ICHUSO 2017), During November 2-3, 2017. -, Khon Kaen, Thailand..
15. Cadchumsang, J. . (2016). Situation and Conditions: The Context behind “Phu-Tai” Ethnicity across the State. In Paper presented at the 6th International Conference – Socio-Economic and Environmental Issues in Development, During 12-13 May 2016. National Economic , University..

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     29     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณทิต สาขาวิชาสังคมวิทยา)
HS 477 101 Principle Concepts in Sociology
HS 477 104 Critical Sociological Theory
HS 477 105 Seminar in Sociological Theory
HS 477 503 Globalization, Transnationalization and Transborder Mobility
HS 477 991 Seminar in Sociology I
HS 477 996 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา)
400 733 Theoretical Concepts Related to Mekong Studies
400 743 Ethnicity in Makong Region
HS 447 102 Critical Social Theory
HS 447 104 Qualitative Methodology
HS 447 205 Ethnicity and Multicultural Society
HS 447 891 Seminar in Sociology
       5.3 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา)
HS 857 103 Theoretical Concepts Related to Mekong Studies
       5.4 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาสังคมวิทยา)
415 226 Ethnology
415 250 Social and Cultural Change
415 251 Cultural Studies
415 326 Anthropology of the Body
415 351 Border Studies
415 495 Sociology and Anthropology Co-operative Education
428 211 Ethnic Diversity in Southeast Asia
HS 420 001 Cross-cultural Literach
HS 420 301 Social Organization
HS 422 105 Anthropology Thought and Theory
HS 422 110 English for Sociology and Anthropology
HS 422 401 Introduction to Research Methodology in Sociological and Anthropological

6. ความเชียวชาญ : มานุษยวิทยา

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น