ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Ethnology) Vietnam National University, Hanoi 2554
ปริญญาโท สม.ม (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2545
ปริญญาตรี ศศ.บ (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2537

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2557). คู่มือภาษาเวียดนาม. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2558). การเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติจากเวียดนามสู่ประเทศไทย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ( ).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2566). ““สักยันต์”: การกลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางความเชื่อของคนเวียดนาม (บางกลุ่ม) ในปัจจุบัน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 40 (3). หน้า 109-134.
2. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2565). ““เปรียบเวียดนามคือพ่อ เปรียบไทยคือแม่” และ “มีองค์”: อัตลักษณ์ลูกผสมในพิธีทรงเจ้าของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 39 (2). หน้า 48-73.
3. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2563). ““ตุ๊กตาลูกเทพ”: กระบวนการเชื่อมโยงเครื่องรางของขลังไทยสู่สังคมเวียดนาม.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 37 (3). หน้า 79-103.
4. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2562). “.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 36 (2). หน้า 55-73.
5. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2559). “นโยบายพัฒนาเกษตรกรรม เกษตรกร และชนบท ที่ทันสมัยของจีน.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 12 (1). หน้า 95-114.
6. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล . (2559). “มาเมืองไทยไม่ใช่แค่หาอยู่หากิน”: “แรงปรารถนา” ของชาวนาเวียดนามจากจังหวัดห่าติ๊งและเหง่ะอาน.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 12 (1). หน้า 139-162.
7. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล . (2558). “แรงงานเวียดนามนอกระบบ”: การเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติจากจังหวัดห่าติ๊ง (เวียดนาม) สู่ประเทศไทย.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 32 (3). หน้า 173-198.
8. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2557). “กินอิ่มนุ่งอุ่น": การดิ้นรนทางเศรษฐกิจในชีวิตประจำวันของผู้คนเวียดนามใน "ยุคอุดหนุน.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 10 (3). หน้า 97-121.
9. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล . (2556). “อยากลืมแต่กลับจำ”: เรื่องเล่า ความทรงจำ และชะตากรรมสมัยปฏิรูปที่ดินของผู้หญิงเวียดนาม (คนหนึ่ง).” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 9 (3). หน้า 33-55.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. Leepor Cha และ ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2557). นโยบายการพัฒนาของรัฐบาล สปป ลาว กับการปรับตัวทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของชนเผ่าม้งในเมืองหลวงพระบาง สปป ลาว. ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2557 "ท้องถิ่นอีสานในบริบทอาเซียน", จัดโดย เมื่อวันที่ .
2. ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2555). “ลัทธิบูชา "บ่าจั๋วคอ" ในเวียดนาม”. ในการประชุมวิชาการระดับชาติมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่8-9 พฤศจิกายน 2555.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Silapakit Teekantikun. (2015). “Transnational labourmobilities from Ha Tinh province (Vietnam) to Thailand: A Preliminary survey” . In the 11th International Conference on Humanities and Social Science (IC-HUSO 2015) , During 26-27 November 2015. at the Faculty of Humanities and Social Science, Khon Kaen University, Thailand .
2. Leepor Cha and Silapakit Teekantikun. (2014). “Development Policies and Economic, Social, Cultural Adaptation of the Hmong minority group in Luang Prabang, Laos PDR”. In the 5th National Graduate conference (5NGC) , During 26th December 2014. Department of Political Science and Public Administration, Kasetsart University.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     13     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรพัฒนศาสตร์ดุษฎีบัณทิต)
400 997 DISSERTATION
       5.2 ระดับปริญญาโท (ลุ่มน้ำโขงศึกษา)
HS 857 104 RESEARCH METHODOLOGY FOR MEKON STUDIES
       5.3 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรพัฒนศาสตร์บัณฑิต)
HS 430 001 COMMUNITY BASE LEARNING
HS 430 785 COOPERATIVE EDUCATION
HS 433 901 COMMUNITY STUDY
HS 433 904 DEVELOPMENT IN ASEAN COMMUNITY

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น