ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ศศ.ด (ภาษาสันสกฤต) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย 2548
ปริญญาโท ศศ.ม (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2548
ปริญญาโท ศศ.ม (ภาษาสันสกฤต) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย 2541
ปริญญาตรี ศษ.บ. (การสอนมัธยม) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประเทศไทย 2538
ปริญญาตรี ป.ธ. 9 (ภาษาบาลี - พุทธศาสนา) คณะสงฆ์ไทย ประเทศไทย 2536

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2559). ศาสนาขั้นแนะนำ. ขอนแก่น: สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. .
2. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2557). พุทธปรัชญามหายาน. ขอนแก่น: สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น..
3. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2556). พุทธธรรมนำชีวิต. ขอนแก่น: สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น..
4. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2556). หลักพุทธธรรมในวรรณกรรมคำสอนอีสาน. ขอนแก่น: สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2555). พุทธศาสนาในประเทศไทย. ขอนแก่น: สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2559). พระพุทธรูปในภาคอีสาน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2558). วิถีชีวิตของพระสงฆ์ในพุทธศาสนาเถรวาทกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
3. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2557). หมอธรรมอีสาน : พัฒนาการ กระบวนการ และการวิเคราะห์เชิงปรัชญา. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
4. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2556). พฤติกรรมการรักษาศีลแปดของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.. ().
5. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2555). สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาทางพระพุทธศาสนาในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วุฒิชัย สว่างแสง และพุทธรักษ์ ปราบนอก. (2566). “แถน: มโนทัศน์และความเข้าใจในสังคมอีสาน.” วารสารไทยคดีศึกษา, 20 (1). หน้า 59-92.
2. เด่นพงษ์ แสนคำ และพุทธรักษ์ ปราบนอก. (2565). “วิทยาศาสตร์นิยมกับปัญหาเชิงญาณวิทยา.” วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา , 44 (3). หน้า ARTS-44-3-2022-AC02.
3. กฤตภาส สายทองดี และพุทธรักษ์ ปราบนอก. (2565). “บทวิเคราะห์พัฒนาการการสอนจริยธรรมในหลักสูตรการศึกษาไทย.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22 (4). หน้า 361-374.
4. ลำเงิน สุริยวงศ์ พุทธรักษ์ ปราบนอก และธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2565). “บทบาทของพระสงฆ์กับการจัดการสิ่งแวดล้อมของชุมชนเมืองขอนแก่น.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22 (3). หน้า 221-234.
5. เด่นพงษ์ แสนคำ และ พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2564). “ประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรอง: ว่าด้วยปัญญาของกลุ่มคนในวิกิพีเดีย.” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5 (2). หน้า 257-296.
6. เด่นพงษ์ แสนคำ และ พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2564). “การประเมินความน่าเชื่อถือการส่งผ่านคำบอกเล่าของประจักษ์พยาน: กรณีของวิกิพีเดีย.” วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 8 (1). หน้า 1-28.
7. วุฒิชัย สว่างแสง และ พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2564). “แถน: การศึกษาเทววิทยาเชิงประวัติศาสตร์.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 10 (1). หน้า 157-177.
8. เด่นพงษ์ แสนคำ และพุทธรักษ์ ปราบนอก. (2564). “ทฤษฎีการให้เหตุผลสนับสนุนคำบอกเล่าของประจักษ์พยานในพุทธศาสนาเถรวาท.” วารสารปณิธาน, 17 (1). หน้า 25-60.
9. เด่นพงษ์ แสนคำ และพุทธรักษ์ ปราบนอก. (2564). “การให้เหตุผลสนับสนุนความรู้ที่มาจากวิกิพีเดีย: มุมมองญาณวิทยาว่าด้วยคำบอกเล่าของประจักษ์พยาน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21 (2). หน้า 500-531.
10. พุทธรักษ์ ปราบนอก ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ วัชรพล ศิริสุวิไล เด่นพงษ์ แสนคำ วุฒิชัย สว่างแสง ปรีชา บุตรรัตน์ ลำเงิน สุริยวงศ์ พระครูสุธีร์จริยวัฒน์ และพระมหาสมบัติ ทวีคูณ. (2563). “ตัวแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมของวัดในภาคอีสาน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 37 (3). หน้า 132-161.
11. เด่นพงษ์ แสนคำ และพุทธรักษ์ ปราบนอก. (2562). “Toward an Epistemology of Wikipedia of Don Fallis.” วารสารปณิธาน, 15 (2). หน้า 465-471.
12. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2562). “ปัญหาภาวะโลกร้อนของวัดในพุทธศาสนา.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 36 (2). หน้า 63-175.
13. พุทธรักษ์ ปราบนอก, วัชรพล ศิริสุวิไล, พระครูสุธีจริยวัฒน์ ภักดีนอก, พระมหาสมบัติ คุเณสโก ปัญญา คล้ายเดช กระเศียร อาคาสุวรรณ และสกัน ลีสีคำ. (2562). “บทบาทของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย.” วารสารวิชาการแสงอีสาน, 16 (2). หน้า 651-666.
14. วัน สุวรรณพงษ์, พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2560). “การศึกษาวินัยของชาวพุทธในพระไตรปิฎก.” วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 2 (2). หน้า 45-54.
15. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2560). “การสอนศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรมในโรงเรียนประถมศึกษาของประเทศไทย.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 268-286.
16. พุทธรักษ์ ปราบนอก, โสวิทย์ บำรุงภักดิ์. (2560). “วิธีคิด หลักพรหมวิหาร สู่การทำวิจัยทางพระพุทธศาสนา.” วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 4 (2). หน้า 38-54.
17. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2560). “การสอนศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรมในโรงเรียนประถมศึกษาของประเทศไทย.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (3). หน้า 268-286.
18. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2559). “พุทธปรัชญาในพุทธปฏิมา.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 33 (3). หน้า 241-263.
19. จรูญศรี มีหนองหว้า, สอาด มุ่งสิน, พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2558). “ของรักษา กับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในสังคมวัฒนธรรมอีสาน.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 6 (2). หน้า 95-108.
20. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2558). “ศาสนาโลก.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 32 (3). หน้า 49-69.
21. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2558). “พฤติกรรมการรักษาศีลแปดของชาวพุทธในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 32 (1). หน้า 189-210.
22. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2558). “พระพุทธเจ้าในทัศนะของพระพุทธศาสนามหายาน.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี , 6 (2). หน้า 109-123.
23. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2557). “พุทธธรรมในวรรณกรรมคำสอนอีสาน.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 31 (2). หน้า 55-78.
24. สมนึก ปัญญาสิงห์, เศกสรรค์ ยงวณิชย์, พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2557). “ตัวแบบการจัดการการพัฒนาเพื่อความอยู่ดีมีสุขของ ครอบครัวเกษตรกรที่ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 2 (1). หน้า 11-22.
25. พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2555). “สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาทางพระพุทธศาสนาในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 29 (3). หน้า 107-123.
26. พระสุระศักดิ์ หวานแท้, พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2555). “ศึกษากลอนลำของหมอลำเคน ดาเหลา เชิงสุนทรียศาสตร์.” วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (3). หน้า 74-82..

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Prabnok.P, Chamaratana.T, Sirisuwilai.W, Jirasatthumb, Jirasatthumb.N, Sutheejariyawat.P. (2024). "Waste-merit management: How adapting Buddhist environmental ethics can help – A qualitative case study of Buddhist temples in Khon Kaen,Thailand". International Social Science Journal, 74 (251). Page 37-52.
2. Somnuek Panyasing, Sekson Yongvanit, Achmad Nurmandi and Puttharak Prabnok. (2021). "Collaborative Partnership and New Farm Management for Solving Drought According ". International Journal of Rural Management, 2021 (0). Page 1-25.
3. Sutida Ngonkum, Puttharak Prabnok and Watcharapon Sirisuwilai. (2021). "Power and ideological relations of people involved in the development of a thai buddhist temple: Reflecting on narratives through critical discourse analysis". Journal of Mekong Societies, 17 (2). Page 50 - 73.
4. Chamaratana T.,Knippenberg L.W.J., De Jong E.B.P.,Prabnok P.,Phatchaney K.,Dasri R.. (2019). "Tri-Patterns of Community Network for Carbon Emission Reduction in Thai-Isan Urban". Journal of Physics: Conference Series, 1340 (1). Page -.
5. Prabnok P.,Chamaratana T.,Sirisuwilai W.,Jirasatthumb N.,Klaydesh P.. (2018). ""buy two get one" - Transforming dharma into commodity in the touristic buddhist temples of North-eastern, Thailand". Eurasian Journal of Analytical Chemistry, 13 (3). Page 426-433.
6. Chamaratana T., Knippenberg, Luuk W.J., De Jong, Edwin B.P., Prabnok P., Dasri R., Phatchaney K.. (2018). ""Connecting and going together" - The broker roles of community network for carbon emission reduction in Khon Kaen City, Thailand". Eurasian Journal of Analytical Chemistry, 13 (3). Page 408-419.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     16     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (ปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา)
419 902​​ Analysis of Buddhism and Buddhist Philosophy
419 904​​ Analysis of Philosophy and Religion in China and Japan
419 999​​ Dissertation
HS 877 101 Advanced Research in Philosophy and Religion
HS 877 998 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา )
419 703​​ A Survey of Eastern Philosophy and Religion
419 721​ ​ Mahāyāna Philosophy
419 726​​ Indian Philosophy
419 899​​ Thesis
       5.3 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาปรัชญาและศาสนาเพื่อการพัฒนา )
000 156​​ Muticulturalism
419 120 ​ Introduction to religion
419 125 ​ Buddhism and Daily Life
419 131​​ Esan Culture
419 211​​ Indian Philosophy
419 311​​ Japanese Philosophy
419 321​​ Religions in Asean Communities
419 321​​ Mahāyāna Buddhism
419 420​​ Buddhism In Thailand
419 421​​ Religions of China and Japan

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น