ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาโท ศศ.ม. (ภาษาเยอรมันในฐานะภาษา ต่างประเทศ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเทศไทย 2548
ปริญญาโท ศศ.ม. (ภาษาและการสื่อสาร) สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์ ประเทศไทย 2547
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาเยอรมัน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย 2541

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. กันตพงศ์ จิตต์กล้า ชัชวาล ศรีทอง เฟื่องเกษ ทองวันชัย Daniel Rodiguez วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป และสิริวรรณ เปรมจิตปิยะพันธ์. (2565). ศัพท์พื้นฐานการเดินทางโดยเครื่องบิน ฉบับ 5 ภาษา. ขอนแก่น: สาขาวิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2556). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ความสารถในการใช้และประยุกต์ใช้ไวยากรณ์เยอรมันเพื่อการทำงาน . ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (แหล่งทุนหลักสูตรภาษาเยอรมัน).
2. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2556). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง Die Sprachtests zur Messung des Grammatischen Wissens fur die berifliche Kommunikation. : . ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป. (2563). “ความสามารถทางด้านไวยากรณ์ในหัวข้อ Funktionsverbgefüge ของนักศึกษาวิชาเอกภาษาเยอรมัน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 9 (2). หน้า 138-164.
2. วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป. (2560). “ภาษาเยอรมันเพื่อการเจรจาต่อรองและแบบทดสอบเฉพาะในแง่มุมการสอนภาษาเยอรมันเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะทาง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 34 (2). หน้า 32-61.
3. วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป. (2560). “ภาษาอังกฤษเพื่อการเจรจาต่อรองในบริบทของไทย : การสะท้อนความคิดในการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในมุมมองทางด้านภาษาและวัฒนธรรม.” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 6 (1). หน้า 13-34.
4. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2557). “ไวยากรณ์เยอรมันในแง่มุมการสอนภาษาเยอรมันเพื่อธุรกิจ.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 31 (3). หน้า 159-192.
5. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2556). “Persuasion in the English Language.” วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2 (1). หน้า 51-79.
6. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2556). “Collocations used in English for business communication.” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 30 (3). หน้า 53-80.
7. Watcharakaweesilp, W. (2020). “The Ability of German Majors at Khon Kaen University in Terms of the Grammatical Topic Funktionsverbgefüge.” Journal of Language, Religion and Culture, 9 (2). หน้า 138-164.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป. (2564). "The Use of Tenses and Idioms for Translating Thai Literary Work into German Language". Proceedings, 0 (0). Page 413-425, 2564..
2. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2015). "Didaktisierung des berufsbezogenen Deutschenmittels des Englischenals Lehrsprache: Lernmotivation beim Deutschlernen im Thai-Kontext". Motivieren und Motivation im Deutschen als Fremdsprache, (). Page 279-296.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2556). Sudostasiatische Deutschstudiernde und FVG . In Asienkonfernz Proceedings , During 2013 . , ประเทศมองโกเลีย.
2. วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป. (2021). Zur Übertragung kultureller Aspekte bei der literarischen Übersetzung aus dem Thailändischen ins Deutsche. In The 4th International Conference on Language and Culture in the 21st Century: Interdisciplinary Research, During 12 November 2021. -, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
3. วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป. (2021). The Use of Tenses and Idioms for Translating Thai Literary Work into German Language. In 16th International Conference on Humanities and Social Sciences 2021 (IC-HUSO 2021), During 18-19 November 2021. -, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
4. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2015). "Didaktisierung des berufsbezogenen Deutschenmittels des Englischenals Lehrsprache: Lernmotivation beim Deutschlernen im Thai-Kontext.". In DaF-Konfernz, During 2015. -, page 279-296 .
5. วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป. (2015). Rollen und Funktionen der Phraseologismen bei der Übersetzung aus dem Thailändischen ins Deutsche. In Deutschunterricht im interkulturellen Kontext, Dokumentation der Tagungsbeiträge, During 18 October 2015. -, Hanoi, Vietnam, Page 208-216.
6. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2014). Die Messung Sprachlicher Kompetenz Im Hinblick Auf Das Grammatische Wissen Der Deutstudierenden für Die Berufliche Kommunikation: Eine Pilotstudie. In InternationaleDaf-Konferencez in ASEAN, During 24-26 September 2014. -, Hanoi,Hanoi University, Page 197-218.
7. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2013). Teaching German for Business Communication throughEnglish:A Pilot Study Based on the Concept of CLIL in the Thai Context. In 9th International Conference on Humanities & Social Science 2013, During 2013. -, KhonKaen University, Thailand, pp 1024-1039.
8. วัสมิลล์ (สงวนชัย) วัชระกวีศิลป. (2013). Südostasiatische Deutschstudierende und ihre Sprachkompetenz im Hinblick auf die Funktionsverbgefüge. In AsienkonferenzDaF, “Deutsch imHerzenAsiens”, During 12- 14 October 2013 . , Ulaanbaatar/ Mongolei.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     26     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาตรี (สาขาภาษาเยอรมัน)
409 322 German Culture
409 342 Analytical German Reading
409 421 German Writing for Business Communication
409 422 German for Business Presentations
409 423 Communicative German for the Workplace
409 424 German for Business Meetings
409 425 German for Economy and Commerce
409 426 German for Industry and Investment
409 427 German Language and Culture for Negotiation
409 428 German for Finance and Banking
409 429 Issues on German Language Studies

6. ความเชียวชาญ : ภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น