ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Rural Sociology) Iowa State University, U.S.A. 2529
ปริญญาโท Dip. Rural Policy and Project Planning Institute of Social Studies, The Hague, Netherlands 2526
ปริญญาโท ร.ม. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2520
ปริญญาตรี ร.บ. (การเมืองและการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2518

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พงษ์มนัส ดีอด และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2566). “การควบรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้มีขนาดที่เหมาะสมในบริบทประเทศไทย.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12 (6). หน้า 395-409.
2. ปัณณวิชญ์ นาคนทรง วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ สุกัญญา เอมอิ่มธรรม และพรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์. (2566). “การจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ ในช่วงสถานการณ์โควิด-19.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12 (4). หน้า 471-485.
3. คงฤทธิ์ แข็งแรง ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์ และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2564). “ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของกลุ่มครูในด้านการศึกษา กรณีศึกษากลุ่มครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารการเมืองการปกครอง, 11 (3). หน้า 99-121.
4. อธิพงษ์ ภูมีแสง วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และอาริยา ป้องศิริ. (2564). “การประยุกต์ใช้นโยบายรัฐบาลดิจิทัลในการทำงานจากที่บ้านของภาครัฐไทยในภาวะวิกฤติ COVID-19: “การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ”.” วารสารการบริหารปกครอง, 10 (2). หน้า 289-312.
5. สิริกัญญา ค่ายหนองสรวงและวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2563). “กระบวนการบริหารบริการสาธารณะด้านการศึกษาตามแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal), 9 (1). หน้า 0.
6. พสุวดี พลพิชัย, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ . (2563). “เงื่อนไขสำคัญในการจัดการร่วมด้านการจัดการขยะ: กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าขยะเทศบาลนครภูเก็ต.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี, 12 (1). หน้า 156 – 188.
7. วรัญญา พรหมสาขา ณ สกลนคร, กีรติพร จูตะวิริยะ และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2560). “การจัดการทรัพยากรชุมชนโดยใช้ ทุนทางสังคมภายใต้ระบบเกษตรพันธสัญญา.” วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร, 13 (2). หน้า 191-238.
8. อนุรักษ์ สิงห์ชัย วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2558). “พื้นที่ทางสังคมของแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่าใน จังหวัดสมุทรสาคร.” วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15 (2). หน้า 90-97.
9. นิลวดี พรหมพักพิง มณีชัย ทองอยู่ และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2557). “การช่วงชิงพื้นที่การเมืองระหว่างรัฐและท้องถิ่น กรณีศึกษาหมู่บ้านผู้ร่วมพัฒนาชาติไทยในภาคอีสาน.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (2). หน้า 131-157.
10. กฤษณะ ทองแก้ว สมศักดิ์ ศรีสันติสุข และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2557). “เหวียตเกี่ยว : ครอบครัวเลื่อนชั้น​เพราะหิ้งบูชาแผ่นดิน.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี, 6 (2). หน้า 157-174.
11. กฤษณะ ทองแก้ว สมศักดิ์ ศรีสันติสุข และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2557). “อำนาจชอบธรรมและสิทธิอำนาจในการเลื่อนชั้น ทางสังคมของชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10 (3). หน้า 123-146.
12. วิยุทธ์จำรัสพันธุ์ และคณะ. (2556). “ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจในการจัดการป่าชุมชนโคกใหญ่ อำเภอวาปีประทุม จังหวัดมหาสารคาม 2555.” วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา, 12 (2). หน้า 92-104.
13. ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และบัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2555). “ป่าดงเค็ง : พื้นที่ปฏิบัติการ​ต่อสู้ ต่อรองอำนาจในการจัดการทรัพยากรระหว่างชุมชนกับรัฐ.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 31 (1). หน้า 24-34.
14. ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และบัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2555). “ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างรัฐ ทุน และชุมชนในการจัดการป่าชุมชนดงเค็ง อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6 (2). หน้า 49-60.
15. ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และบัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2555). “ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจในการจัดการป่าชุมชนโคกใหญ่อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 12 (2). หน้า 92-104.
16. สุนทร ปัญญะพงษ์วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และวงศา เล้าหศิริวงศ์. (2555). “ความขัดแย้งระหว่างชุมชน​ท้องถิ่นกับหน่วยงานภาครัฐในการจัดการทรัพยากรนํ้าจากเขื่อนลำปะทาว อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 8 (1). หน้า 115-135.
17. ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และบัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2555). “ป่าดงเค็ง : พื้นที่ปฎิบัติการต่อสู้ ต่อรองอำนาจในการจัดการทรัพยากรระหว่างชุมชนกับรัฐ.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 31 (1). หน้า 24-34.
18. ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และบัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2555). “ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างรัฐ ทุน และชุมชนในการจัดการป่าชุมชนดงเค็ง อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6 (2). หน้า 49-60.
19. กาญจนา จัตุพันธ์ และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2553). “การจัดการความรู้เรื่องการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล : กรณีศึกษา โรงพยาบาลนคร.” วารสารวิจัย มข., 15 (12). หน้า 1115-1125.
20. อุทุมพร หลอดโค และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2552). “การจัดการความรู้เรื่องอาหารธรรมชาติ : ศึกษากรณีบ้านหินเหิบ ต.พระยืน อ.พระยืน จ.ขอนแก่น.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 9 (4). หน้า 102-113.
21. อุทุมพร หลอดโค และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2552). “วิถีชุมชน : การจัดการความรู้เรื่องอาหารธรรมชาติ.” วารสารวิจัย มข., 14 (8). หน้า 784-792.
22. วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2551). “การวิจัยเพื่อการพัฒนา กับบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” วารสารการพัฒนาท้องถิ่น, 3 (1). หน้า 83-101.
23. Somsak Srisontisuk วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และนัฏฐพงศ์ ดวงมนตรี. (2548). “การปลูกฝังบุคลิกภาพประชาธิปไตยในครอบครัว จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิจัย มข., 10 (4). หน้า 359-369.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. พสุวดี พลพิชัย, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2563). "เงื่อนไขสำคัญในการจัดการร่วมด้านการจัดการขยะ : กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าขยะเทศบาลนครภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 12 (1). Page 156-188.
2. สิริกัญญา ค่ายหนองสรวง, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2563). "กระบวนการบริหารบริการสาธารณะด้านการศึกษาตามแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนสังกัดองค์การส่วนจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ". วารสารการบริหารปกครอง, 9 (1). Page 487-508.
3. บัญชา พุฒิวนากุล, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2563). "กระบวนการนำนโยบายแก้ปัญหาความยากจนไปปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในจังหวัดกาฬสินธุ์". วารสารการบริหารปกครอง , 9 (1). Page 487-508.
4. เดโช แสนภักดี, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2562). "ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการบริหารจัดการระบบดูแล และส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครราชสีมา". วารสารการบริหารปกครอง, 8 (1). Page 40-61.
5. ปุณยวีร์ หนูประกอบ, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2562). "รูปแบบการบริหารจัดการความร่วมมือภาคสาธารณะในการป้องกันอุทกภัย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 11 (2). Page 189-220.
6. จริยา ชาตะสุวัจนานนท์, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2562). "เงื่อนไขที่นำไปสู่การพัฒนาความร่วมมือในการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษลุ่มน้ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยระหว่าง พ.ศ. 2556 - 2560". วารสารการบริหารปกครอง, 8 (2). Page 526-549.
7. เดโช แสนภักดี, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2562). "ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการบริหารจัดการระบบดูแล และส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครราชสีมา". วารสารการบริหารปกครอง, 8 (1). Page 40 - 61.
8. ปุณยวีร์ หนูประกอบ, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2562). "รูปแบบการบริหารจัดการความร่วมมือภาคสาธารณะในการป้องกันอุทกภัย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 11 (2). Page 189-220.
9. จริยา ชาตะสุวัจนานนท์, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2562). "เงื่อนไขที่นำไปสู่การพัฒนาความร่วมมือในการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษลุ่มน้ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยระหว่าง พ.ศ. 2556 - 2560". วารสารการบริหารปกครอง , 8 (2). Page 526-549.
10. บัญชา พุฒิวนากุล, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2561). "กระบวนการนำนโยบายแก้ปัญหาความยากจนไปปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในจังหวัดกาฬสินธุ์". วารสารการบริหารปกครอง, 7 (2). Page 32-56.
11. สุนิสา ประมงค์, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2560). "ความสัมพันธ์เชิงอำนาจในกระบวนการทำวัฒนธรรมท้องถิ่นให้เป็นสินค้า กรณีศึกษางานสดุดีวีรกรรมทุ่งสัมฤทธิ์ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา". วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 13 (2). Page 181-200.
12. วรัญญา พรหมสาขา ณ สกลนคร, กีรติพร จูตะวิริยะ, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2559). "การจัดการทรัพยากรชุมชนโดยใช้ทุนทางสังคมภายใต้ระบบเกษตรพันธะสัญญา". วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร , 13 (2). Page 190-238.
13. ฐิติรัตน์ เวทย์ศิริยานันท์, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2558). "จากอินเดียสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเดินทางของพระพิฆเนศ". วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 11 (3). Page 127-151.
14. อนุรักษ์ สิงห์ชัย, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2558). "พื้นที่ทางสังคมของแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่าในจังหวัดสมุทรสาคร". วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15 (2). Page 90-97.
15. อนุรักษ์ สิงห์ชัย, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2558). "พื้นที่ทางสังคมของแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่าในจังหวัดสมุทรสาคร". วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15 (2). Page 90-97.
16. Daryono, Viyouth Chamruspanth, Achmad Nurmandi . (2020). "Network Management Strategy in Strengthening Small and Medium Sized Enterprise Clusters: A Case Study in Indonesia". International Journal of Innovation, Creativity and Change, 14 (4). Page 859 – 882.
17. Ruangsarakul, R., Chamruspanth, V. and Jutaviriya, K. (2019). "Structuration Theory and Social Capital: A Qualitative Case Study of Organic Producer Groups in Southern Thailand". The International Journal of Interdisciplinary Social and Community Studies, 14 (2). Page 13-26.
18. Ruangsarakul, R., Chamruspanth, V. and Jutaviriya, K. (2019). "The Inter-Organizational Cooperation in the Implementation of Organic Rice Production Policy in the Southern Region of Thailand". Journal of Engineering and Applied Sciences, 14 (22). Page 8408-8414.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และศักดิ์ชัย ไชยเนตร. (2555). “การสร้างพื้นที่ทางสังคมและวัฒนธรรมของเครือข่ายผู้รับฟังวิทยุชุมชน”. ในบทความการประชุมวิชาการทางวัฒนธรรมระดับชาติ วิจัยวัฒนธรรม ครั้งที่ 2 , จัดโดย เมื่อวันที่วันที่ 12 กรกฎาคม 2555 ณ กระทรวงวัฒนธรรม.
2. วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์ และคณะ. (2555). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของครัวเรือนและชุมชนที่ปลูกยางพาราในภาคอีสาน. ในบทความการประชุมวิชาการทางวัฒนธรรมระดับชาติ วิจัยวัฒนธรรม ครั้งที่ 2, จัดโดย เมื่อวันที่วันที่ 12 กรกฎาคม 2555​ณ กระทรวงวัฒนธรรม.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Pramong, S., Chamruspanth, V. and Chumnanmak, R. (2016). The Revival of Local History: The Commodification of Local Culture. A Case Study of a Local Fair Organized at the ThungSumrit Heroism Memoria. In 12th International Conference on Humanities and Social Sciences 2016 (IC-HUSO 2016), During 14-15 November 2016. Faculty of Humanities and Social Sciences, KhonKaen University, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     10     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 950 Advanced Social Research Methodology I
415 997 Dissertation
       5.2 ระดับปริญญาเอก (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์)
HS 471 902 Scope and Methods in Public Administration
HS 471 995 Seminar on Crisis Administration and Management
       5.3 ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 710 Development Sociology
415 717 Sociology of Organization
415 721 Social Movement and Development in the Age of Globalization
415 723 Current Issues in Sociology
415 741 Natural Resources and Environment Policy Making
415 754 Development of Learning Process for Community Empowerment
415 890 Seminar in Development Sociology
415 891 Seminar in Social and Cultural Dynamics
415 893 Special Topics in local Organization and development
415 894 Special Topics in Agricultural Sociology
415 895 Special Topics in International Development
415 896 Selected Topics in Development Sociology
       5.4 ระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาสังคมวิทยา)
415 210 Rural Sociology
415 215 Development Sociology
HS 411 101 Introduction to Public Administration (สอนร่วม)
HS 411 301 Thai Politic and Administration (สอนร่วม)
HS 412 303 Politic and Economic System (สอนร่วม)
HS 413 603 Spatial and Regional Planning (สอนร่วม)

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น