ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (PhD) in Human Geography Komazawa University, Tokyo, Japan 2551
ปริญญาโท Master of Science (Public Services Administration) University of Central Missouri, Missouri, USA 2522
ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2519

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2563). ขอบเขตและวิธีการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. .
2. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2563). การบริหารการบริการสาธารณะผู้สูงอายุในประเทศไทย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่วมสมัย. ขอนแก่น: เพ็ญพริ้นติ้ง.
4. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม.(บรรณาธิการ) และคณะ . (2553). พหุวัฒนธรรม. ขอนแก่น: สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. เทพพร มังธานี(บรรณาธิการ) สุกัญญา เอมอิ่มธรรม และคณะ . (2552). มนุษย์กับสังคมและวัฒนธรรม. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
6. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2552). นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ. ขอนแก่น: สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.(เอกสารอัดสำเนา) .
7. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2550). ทฤษฎีองค์การและการจัดการการเปลี่ยนแปลง. ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
8. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2549). การจัดการทรัพยากรมนุษย์: หลักการ แนวคิด และ ทฤษฎี. พิมพ์ครั้งที่ 3. โครงการความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยขอนแก่นและกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
9. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม (บรรณาธิการ) วีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน์และสุขุมวิทย์ ไสยโสภณ. (2549). โลกาภิวัตน์กับท้องถิ่น. โครงการความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยขอนแก่นและกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
10. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2546). การจัดการและการพัฒนาองค์การ. ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
11. สุกัญญา เอมอิ่มธรรมและคณะ. (2546). เหตุการณ์โลกปัจจุบัน. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
12. อำพร ไตรภัทร (บรรณาธิการ). สุกัญญา เอมอิ่มธรรมและคณะ. (2543). คู่มือการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์วิจารณ์. คณะอนุกรรมการส่งเสริมการเนียนการสอนเน้นการพัฒนาความคิด วิเคราะห์วิจารณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
13. สุกัญญา เอมอิ่มธรรมและบัญชร แก้วส่อง. (2542). มนุษยสัมพันธ์. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 งานวิจัย    
1. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2559). ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2558). ความมั่นคงมนุษย์ของนักศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
3. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2553). ภาวะผู้นำท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ().
4. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2549). ผลกระทบจากการไปทำงานต่างประเทศของแรงงานในจังหวัดอุดรธานีและจังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: . ().
5. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2548). การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นองค์การแห่งคุณภาพที่โดดเด่น. ขอนแก่น: . (โครงการทุนอุดหนุนงบประมาณ 2547 – 2548 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ).
6. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2548). การย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศของแรงงานไทย: กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานี. ขอนแก่น: . ( โครงการเมธีวิจัยอาวุโส).
7. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2547). การเตรียมความพร้อม เพื่อคุ้มครองแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศ. : . (โครงการทุนอุดหนุนงบประมาณ 2547 สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย).
8. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2546). การศึกษาผลกระทบของการเข้ามาทำงานของแรงงานต่างด้าวในจังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ().
9. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2545). การสร้างความมั่นคงและเข้มแข็งของชุมชนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงที่มาจากการไปทำงานต่างประเทศของคนงานไทย : กรณีจังหวัดขอนแก่น.. ขอนแก่น: สำนักงานกองทุนเพื่อสังคม. ().
10. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2545). ศักยภาพในการประกอบธุรกิจชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพของคนงานไทยหลังกลับจากการไปทำงานต่างประเทศ. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ().
11. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2544). ผลกระทบต่อความมั่นคงและการเปลี่ยนแปลงของครอบครัวคนไทยที่ไปทำงานต่างประเทศในจังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: Catholic Commission for Migrants and Prisoners.. ().
12. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2543). การปรับตัวและแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแรงงานคืนถิ่นที่ถูกเลิกจ้างจากวิกฤตเศรษฐกิจในจังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: . (โครงการทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดินปี 2543 มหาวิทยาลัยขอนแก่น).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, อนงค์นาถ โยคุณ, อภิรดี ดอนอ่อนเบ้า, และพงษ์มนัส ดีอด. (2566). “องค์ประกอบเครือข่ายความร่วมมือของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 23 (1). หน้า 31-46.
2. ปัณณวิชญ์ นาคนทรง, วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, และพรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์. (2566). “การจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ ในช่วงสถานการณ์โควิด-19.” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12 (4). หน้า 471-485.
3. อธิพงษ์ ภูมีแสง, สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, ปัณณวิชญ์ นาคนทรง, ทินวุฒิ วงศิลา, ปรารถนา มะลิไทย, ยุทธพงษ์ จักรคม และ Robby Rosandi. (2565). “เงื่อนไขและกระบวนการที่ก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการบริหารงานของ สมาคมไทย-เวียดนาม จังหวัดนครพนม.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 12 (2). หน้า 255-267.
4. Panyasack Sengonke และสุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2565). “แนวทางการบริหารนครตามบริบทการปกครองท้องถิ่น ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว*.” วารสารการเมืองการปกครอง, 12 (2). หน้า 17-34.
5. ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม และ พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2564). “ภาวะผู้นำท้องถิ่นไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (3). หน้า 105-131.
6. ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม และ พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2564). “ภาวะผู้นำท้องถิ่นไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (3). หน้า 105-131.
7. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, มัทนา บัวศรี, เปาซี วานอง, อัญชนา แสงแก้ว, เว่ย หยาง, Panyasack Sengonkeo, สุภาพงษ์ ญาณไพศาล. (2563). “บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลต่อการบริหารจัดการขยะชุมชนสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลคูเมือง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ.” วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่, 21 (2). หน้า 112-127.
8. สุขุมวิทย์ ไสยโสภณ, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2563). “ประสิทธิผลการปฏิบัติงานบริการแพทย์ฉุกเฉินโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4 (2586-9493). หน้า 19-28.
9. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2563). “พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษา ในเขตนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 37 (2). หน้า 120-142 .
10. จารุกัญญา อุดานนท์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2562). “การประเมินคุณภาพตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของ โรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบในประเทศไทย.” วารสารการบริหารปกครอง, 8 (2). หน้า 106-136.
11. พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2561). “กระบวนการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวตามแนวชายแดนแบบไป-กลับไปปฏิบัติศึกษากรณี แรงงานสัญชาติกัมพูชาในประเทศไทย.” วารสารการบริหารท้องถิ่น , 11 (3). หน้า 164-183.
12. พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม,สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2560). “กรอบมโนทัศน์เบื้องต้นในการสร้างความร่วมมือในการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวตามแนวชายแดนแบบไป-กลับไปปฏิบัติ.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 0 (1). หน้า 93-110.
13. ชนาใจ หมื่นไธสง, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2560). “ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทางวิชาการระหว่างประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : บทบาทการพัฒนาประเทศของกลุ่มองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 9 (1). หน้า 259-285.
14. ชนาใจ หมื่นไธสง, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, และเศกสรรค์ ยงวณิชย์. (2560). “การรับรู้ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียที่มีต่อไทย ด้านเศรษฐกิจและสังคมในบริบทประชาคมอาเซียน.” วารสารการเมืองการปกครอง, 7 (2). หน้า 33-47.
15. ดุษฎี อายุวัฒน์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, อภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ์. (2553). “วิถีชีวิตแรงงานไทยในไต้หวัน : การศึกษาในถิ่นปลายทาง.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 27 (1). หน้า 1-28.
16. กัณณิกา หงษ์ลา, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, ธีรวัตร์ ภูระธีรานรัชต์, ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2553). “การจัดการเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย.” วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 4 (1). หน้า 50-59.
17. ตรีนวลนุช กองผาพา, สุขุมวิทย์ ไสยโสภณ, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2552). “บทบาทการบริหารทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่ ศึกษากรณีวิสาหกิจขนาดใหญ่ในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) , 9 (3). หน้า 139-151.
18. ทิพาพร พรหมวิอินทร์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2550). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท อินโดไชน่า ฟาสเทนนิ่ง ซิสเท็มส์ จำกัด.” วารสารวิจัย มข. ฉบับสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับธุรกิจและเศรษฐกิจ), 6 (2). หน้า 40-48.
19. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2546). “การประกอบธุรกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอาชีพ.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 20 (3). หน้า 87-99.
20. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม และคณะ. (2546). “ผลกระทบต่อความมั่นคงและการเปลี่ยนแปลงของ ครอบครัวอันเนื่องมาจากการไปทำงานต่างประเทศของคนงานไทยในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารประชากรและสังคม, 16 (1). หน้า 131-156.
21. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2546). “การประกอบธุรกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอาชีพ.” วารสาร มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 20 (3). หน้า .
22. สุกัญญา เอมอิ่มธรรมและคณะ. (2546). “ผลกระทบต่อความมั่นคงและการเปลี่ยนแปลงของ ครอบครัวอันเนื่องมาจากการไปทำงานต่างประเทศของคนงานไทยในจังหวัดขอนแก่น.” รายงานการประชุมวิชาการเรื่อง งานวิจัยของประเทศไทยด้านการย้าย ถิ่นระหว่าง ประเทศในยุคโลกาภิวัตน์, 0 (0). หน้า .
23. สุกัญญา เอมอิ่มธรรมและฟ้ารุ่ง มีอุดร. (2546). “การสร้างความมั่นคงและเข้มแข็งของชุมชนที่มีการ เปลี่ยนแปลงจากการไปทำงานต่างประเทศของคนงานไทย.” ธรรมทรรศน์, 4 (1). หน้า .
24. ธนพรรณ ธานี, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, และกุลวัลย์ สุภัทรพาหริผล. (2546). “กลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชนชนบท.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 20 (4). หน้า 40-47.
25. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, ทิพวรรณ จันทร์ชนะ, และธนพรรณ ธานี. (2545). “การปรับตัวและแนวทางการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และสังคมของแรงงานคืนถิ่น ที่ถูกเลิกจ้างอันเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจ ในจังหวัดขอนแก่น.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 19 (3). หน้า 41-51.
26. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2544). “การย้ายถิ่นกลับในประเทศญี่ปุ่น.” วารสารศูนย์บริการวิชาการ มข, 9 (1). หน้า .
27. บัญชร แก้วส่อง, พีระศักดิ์ ศรีฤาชา, Sompop Prathanee, สุจิตรา จรจิตร, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, และอมร สุวรรณนิมิตร. (2543). “ระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารองค์การสำหรับการพัฒนานโยบายเพื่อปรับปรุงระบบการบริหารโรงพยาบาลของรัฐ.” วารสารวิจัย มข., 5 (2). หน้า 112-120.
28. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2543). “ประสบการณ์การเรียนการสอนแบบใช้ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ .” คู่มือการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์วิจารณ์, 0 (0). หน้า .
29. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2543). “การบริหารรัฐกิจของไทย: กรอบปฏิบัติที่ต้องทบทวน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 18 (1). หน้า .

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2021). "The Development of Tourism Industry and its Impact to Dali Erhai Lake Region". International Journal of Recent Technology and Engineering, 0 (3s2). Page ().
2. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2021). "Pro-poor tourism: a new tourism policy in China for poverty alleviation". International Journal of Psychosocial Rehabilitation, 0 (8). Page 4860-4867.
3. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2020). " Factors Influencing Smart City Development in Khon Kaen, Thailand". International Journal of Pharmaceutical Research, 0 (4). Page 4725-4732.
4. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2020). " SMART CITY MANAGEMENT FOR A SMART, HEALTHY CITY: A CASE STUDY ON KHON KAEN CITY, THAILAND". International Journal of Modern Agriculture, 0 (4). Page 245-252.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2554). ภาวะผู้นำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ, จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาสารคามร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ .
2. สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2543). การบริหารรัฐกิจ: กรอบปฏิบัติที่ต้องทบทวน. ในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ, จัดโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ .

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Aimimtham, Sukanya & Pornsan Pitanantisak. (2020). Political Career’s Progress of Thai Women under the Country’s Context Today “The Next Generation of Women: Equal Rights, Equal Opportunities and Equal Participation”. In The 3nd International Conference on Future of Women 2020 , During February 13-14. -, Bangalore, India.
2. Aimimtham, Sukanya. (2017). Khon Kaen IT and Smart City in the Public Management Perspective. In Belt and Road & Greater Mekong Sub-region Cooperation “Lancang Jiang-Mekong River: Rising Smart Corridor”, During September. , Chiang Mai..
3. Aimimtham, Sukanya. (2015). Conditions in Public Services Reform after 2014 Coup: Case of Khon Kaen. In The 2nd International Conference on Public Administration: Globalization & New Public Services, During August 6-8. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.
4. Aimimtham, Sukanya. (2014). Agricultural Production Change from Overseas Out-Migration in The Rural Northeast of Thailand. In The First Asian Postgraduate Research Conference, During January17. Universitas Muhammadiyah Yogyakarta, Indonesia.
5. Aimimtham, Sukanya. (2014). The Understanding of Thais towards Democracy and Deliberative Democracy. In 1stInternationalConference on Public Administration: Public Affairs in ASEAN Community, During August 28-29. Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
6. Aimimtham, Sukanya. (2014). Dispute from State Project on Water Resiurce Management: Casec of Pong KhunPhet Dam, Chaiyaphoum Province. In The International Conference on Peace and Conflict Resolution, Bridging Diversity for Peaceful Coexistence, During 15-16 December. Khon Kaen, Thailand.
7. Aimimtham, Sukanya. (2014). Rohingya Migrants to Thailand. In The International Conference on Migration, Securityand Development, ARCM, , During 17-18 December. Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
8. Aimimtham, Sukanya. (2012). Land Use MovementofVillagersin Ban Baw Kaew, TambonThungPra,Khon San District, Chaiyaphum Province. In The 7th GMSARN International Conference 2012 on Green Economy with Energy, Environment & Social Responsibility, During December 19-21. Siem Reap, Kingdom of Cambodia.
9. Aimimtham, Sukanya. (2010). Local Governance and Political Participation of the People in Northeastern Thailand. In The 5th GMSARN International Conference 2010, During November 17-19. Luang Prabang, Lao PDR.
10. Aimimtham, Sukanya. (2009). Impacts of International Migration on Socio-economic Conditions in the Rural Northeast of Thailand. In The 5th International Conference on Population Geographies, During August 5-9. Dartmouth College, Hanover, USA..
11. Aimimtham, Sukanya. (2009). GMS Migrants Labor to Thailand and Human Rights Issues. In The 4th GMSARN International Conference 2009on Energy Security and Climate Change: Problems & Issues in GMS, During November 25 – 27. Ha Long City, Vietnam.
12. Aimimtham, Sukanya. (2008). Changes of Agricultural Production due to Overseas Out-Migration in Rural Northeast Thailand. In IRRI Workshop of the ACIAR on Impact of Migration and/or Off-farm Work Employment on Roles of Women in Asian and Australian Mixed Farming Systems , During 21-22 February. , Los Banos.
13. Aimimtham, Sukanya. (2007). Overseas Migration Reinforcement in Rural Northeast Thailand. In International Federation of Social Science Organizations (IFFSO) Conference Approach in Socio-Cultural Studies: Marginal Group, During October 11-13. , Bali.
14. Aimimtham, Sukanya. (2007). The Vulnerability of International Migrants in Rural Areas of UdonThani and KhonKaen. In The 4th International Conference on Population Geographies, During July 10-12. The Chinese University of Hong Kong, Hong Kong.
15. Aimimtham, Sukanya. (2006). An Overview of Overseas Out-Migration and Its Impacts in Rural Northeast, Thailand. In The 8th SEAGA Conference: Sustainability and Southeast Asia, During November 28- 30. Nanyang Girls High School, Singapore.
16. Aimimtham, Sukanya. (2005). Thai Laborers Working Abroad: Case study of UdonThani. In International Conference in Transborder Issues in the Greater Mekong Sub-region, During June 30 – July 2. , Ubon Ratchathani.
17. Aimimtham, Sukanya. (2004). Developing Tambon Administrative Organization in Khon Kaen towards quality organization by training program. In The 7th SEAGA Conference, During November 29-30. , Khon Kaen.
18. Aimimtham, Sukanya. (2002). Impacts of Overseas Out-migration on Family’s Stability and Changes in Khon Kaen Province. In The International Migration Symposium Funded by UNESCO , During June 24, 2002. Chulalongkorn University , Bangkok.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     43     ปี
5. ภาระงานสอน
       5.1 ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณทิต)
414 921 ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ขั้นก้าวหน้า
414 923 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพทางรัฐประศาสนศาสตร์ขั้นก้าวหน้า
414 991 สัมมนาทางการจัดการองค์การและทุนมนุษย์
414 993 สัมมนาทางการจัดการการเงินการคลังสาธารณะ
414 997 ดุษฎีนิพนธ์
414 999 ดุษฎีนิพนธ์
HS 471 902 ขอบเขตและวิธีการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์
HS 471 991 สัมมนาทางการจัดการองค์การและทุนมนุษย์
HS 471 995 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการภาวะวิกฤต
HS 471 996 ดุษฎีนิพนธ์
HS 471 998 ดุษฎีนิพนธ์
       5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต)
414 721 ทฤษฎีและแนวคิดความขัดแย้งและสันติ
414 731 มนุษย์ องค์การ และการจัดการเชิงกลยุทธ์
414 751 การจัดการองค์กรเพื่อสาธารณประโยชน์
414 891 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์
414 892 สัมมนาความร่วมมือในการพัฒนาประชาคมอาเซียน
HS 457 103 นวัตกรรมการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
       5.3 ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต)
414 133 ภูมิรัฐศาสตร์
414 140 ทฤษฎีองค์การ
414 141 หลักรัฐประศาสนศาสตร์
414 243 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
414 247 ภาวะความเป็นผู้นำ
414 342 การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
414 343 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
414 347 การบริหารความมั่นคงมนุษย์
414 349 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์
414 361 ระเบียบปฏิบัติราชการและการบริหารการบริการสาธารณะ
414 441 จิตวิทยาในการบริหารงาน
414 445 สหกิจศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์

6. ความเชียวชาญ : การจัดการองค์กร, การย้ายถิ่น, การบริหารจัดการด้านผู้สูงอายุ, การจัดการสิ่งแวดล้อม

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น