ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Rural Sociology) University of Missouri- Columbia United State of America 2541
ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การวางแผนการพัฒนาภูมิภาคและ ท้องถิ่น) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ประเทศไทย 2536
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (พัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2532

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2562). “พญานาคศรีสุทโธ” นาคและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในอีสาน เครื่องมือทางจิต วิญญาณเพื่อหลุดพ้นความเหลื่อมล้้า. ขอนแก่น: เดอะอีสานเรคคอร์ด. 29/01/2019.
2. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2561). ความเป็นธรรมทางสังคมและธรรมาภิบาลที่ดินในเขตเศรษฐกิจพิเศษในภาค อีสานและภาคเหนือ ประเทศไทย,. ขอนแก่น: ความเป็นธรรมทางสังคมและธรรมาภิบาลที่ดินใน เขตเศรษฐกิจพิเศษ..
3. กนกวรรณ มะโนรมย์ (บก.). ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย แบร์ด เอียน กนกวรรณ มะโนรมย ศิระศักดิ์ คชสวัสดิ์ และสุรสม กฤษณะจูฑะ. (2561). ความส้าคัญของประมงพื้นบ้านในสาขาของแม่น้้าโขง กรณีศึกษาล้าเซบกและห้วยขยุง. อุบลราชธานี.: ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้้าโขง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ยงสวัสดิ์การพิมพ์..
4. กนกวรรณ มะโนรมย์ และธนพร ศรีสุกใส. (2561). ผู้หญิงกับธรรมาภิบาลที่ดินในเขตเศรษฐกิจพิเศษ กรณีศึกษามุกดาหาร. ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. หน้า 189-210 ใน ธรรมาภิบาลที่ดินและ ความเป็นธรรมในเขตเศรษฐกิจพิเศษ.. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้้าโขง. ส้านักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.).
5. กนกวรรณ มะโนรมย์ และปิ่นวดี ศรีสุพรรณ. (2558). การแย่งยื้อที่ดินและการกระจายตัวทางเศรษฐกิจในที่ดิน ชายแดนอีสาน. หน้า 32-68 ใน หนังสือการแย่งยื้อเปลี่ยนมือที่ถือครองที่ดินในชายแดนอีสาน ตอนล่าง. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้้าโขง.ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. โคขยัน การพิมพ์..
6. Baird, I.G., Shoemaker, B., Manorom, K.. (2018). Troubles downstream: Changes in the Xe Bang Fai River Basin ( Book Chapter). Dead in the Water: Global Lessons from the World Bank's Model Hydropower Project in Laos. (edited by Bruce Shoemaker and William Robichaud). Wisconsin: Publisher: University of Wisconsin Press, pp.182-205.
7. Kanokwan Manorom. (2018). Hydropower Resettlement in the Mekong region. -: -.
8. Shoemaker, B, Ian Baird and Kanokwan Manorom. (2018). “ Trouble downstream: Changes in the Xe Bang Fai River” , In Dead in the Water: Global lessons from the World Bank’ s Model Hydropower project in Laos, Pp. 182-205. Bruce Shoemaker and William Robichaud (eds). Wisconsin: University of Wisconsin Press.
9. Middleton, C, Manorom, K, Nguyen Van Kien, Outhai Soukkhy and Albert Salamanca. (2018). Knowledge Coproduction for Recovering Wetlands, Agro-ecological Farming and Livelihoods in the Mekong Region, PP. 44-65 in Mekong Recovery. Bangkok: Stockholm Environment Institute (SEI) Bangkok. (Book chapter).
10. Kanokwan Manorom and David Hall. (2012). The Social Impacts of Mekong Dam Developments: Why the Poor Suffer and how Impacts can be Anticipated? Book chapter in 'Transcending State Boundaries: Contesting Development, Social Suffering and Negotiation' published by Regional Center for Sustainable D. Chiang Mai: Chiang Mai University, Thailand..
11. Foran, T., Manorom, K.. (2012). Pak Mun Dam: Perpetually contested? (Book Chapter) . Contested Waterscapes in the Mekong Region: Hydropower, Livelihoods and Governance. . London, UK: Earthscan: pp. 55-80.
12. Kanokwan Manorom. (2006). Opening the Sluice Gates of the Pak Mun Dam in Thailand for Four Months: Questions for Sustainable Development of People’s livelihood and Ecological Restoration, JCAS Symposium Series 25. International Symposium: Mediating for Sustainable Development in t. -: The Japan Center For Asia Studies..

3.2 งานวิจัย    
1. กนกวรรณ มะโนรมย์ และ ธนพร ศรีสุขใส. (2561). รายงานวิจัยเรื่องผู้หญิงกับธรรมาภิบาลที่ดินในเขต เศรษฐกิจพิเศษ กรณีศึกษามุกดาหาร. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). ().
2. กนกวรรณ มะโนรมย์ ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ และ วัชรี ศรีค้า. (2561). รายงานการวิจัยเรื่องวิถีพนันวัยใส: กรณีศึกษาเด็กและเยาวชนที่ถูกจับกุมด้วยคดีการพนันในภาคอีสาน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน.. ().
3. กนกวรรณ มะโนรมย์ ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ และสุรลพ ภูภักดิ์. (2559). การแย่งยื้อที่ดินและการกระจายตัวทาง เศรษฐกิจในที่ดินชายแดนอีสาน. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคแม่น้้าโขง.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย. ( โคขยันการพิมพ์).
4. กนกวรรณ มะโนรมย์ และวัชรี ศรีค้า. (2558). เครือข่ายและองค์กรทางสังคมของคาสิโนข้ามแดนระหว่างไทย และกัมพูชาในพื้นที่อีสานล่าง.. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน. ().
5. Baird, I. G., Kanokwan M, Aurore Phenow and Sirisak Gaja-Svasti. (2017). What about the Tributaries of the Tributaries? Fish Migrations, Fisheries, Dams and Local Knowledge along the Sebok River in Northeastern Thailand. Wisconsin: University of Wisconsin-Madison.. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2565). “สนามของ “การผสมโรง”ระหว่างนักสังคมศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์เพื่อเข้าใจ “ความยากจน”.” วารสารมานุษยวิทยา, 5 (1). หน้า 253 - 263.
2. ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ, กนกวรรณ มะโนรมย์, วัชรี ศรีคำ. (2563). “โครงการนำร่องการพัฒนาสื่อการละครถกแถลงเชิงสร้างสรรค์เพื่อรณรงค์และป้องกันปัญหาการพนันในเยาวชนและชุมชนในภาคอีสาน.” วารสารการสื่อสารมวลชน, 8 (1). หน้า 34-74.
3. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2562). ““เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนอีสาน” ภายใต้เสรีนิยมใหม่ และ รัฐในฐานะ “นายหน้าที่ดิน” กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร.” วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์), 45 (1). หน้า 269-299.
4. ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ, กนกวรรณ มะโนรมย์, วัชรี ศรีคำ. (2562). “วิถีพนันวัยใส: กรณีศึกษาเด็กและเยาวชนที่ถูกจับกุม ด้วยคดีการพนันในจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคอีสาน.” วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 45 (2). หน้า 80-108.
5. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2562). “เพศภาวะและวิพากษ์การแบ่งงานกันทำระหว่างหญิงชายในสังคมอีสาน กรณีศึกษาการค้าวัว.” จุดยืน : วารสารสตรีนิยมไทย, 6 (2). หน้า 46-75.
6. ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ, กนกวรรณ มะโนรมย์, วัชรี ศรีคำ. (2562). “วิถีพนันวัยใส: กรณีศึกษาเด็กและเยาวชนที่ถูกจับกุม ด้วยคดีการพนันในจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคอีสาน.” วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 45 (2). หน้า 80-108.
7. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2562). “บทวิจารณ์หนังสือ (Book review) เรื่อง “Gender and Natural Resource Management: Livelihoods, Mobility and Intervention.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 10 (1). หน้า 1-9.
8. กนกวรรณ มะโนรมย์ และจุฑาทิพย์ วิเศษศิลป์.. (2561). “ผู้ผลิตรายย่อย.” วารสารสังคมศาสตร์, 30 (1). หน้า 65-100.
9. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2559). “ผู้หญิงลาวในพื้นที่ลุ่มน้้าเซบังไฟ ความเป็นชนพื้นเมือง การทับซ้อนของพหุอัต ลักษณ์ ภูมิศาสตร์ อารมณ์ และผลกระทบจากเขื่อนน้้าเทิน 2.” วารสารสำนักบัญฑิต อาสาสมัคร, 13 (2). หน้า 1-45.
10. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2559). “‘จรยุทธ์วิธี’ ทางสองแพร่งจริยธรรมการวิจัย และ ความเป็นธรรม กับ การเมือง เรื่องเขื่อนในลาว.” วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา., 35 (1). หน้า 172-197.
11. เอื้อพร ดิคคินสัน, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2558). “ความเครียดในการปฏิบัติหน้าที่และแนวทางการแก้ไขปัญหา ของกำลังพลหน่วยเฉพาะกิจที่ 1 กองกำลังสุรนารี.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11 (1). หน้า 117-140.
12. วรวุฒิ อินทนนท์, ไชยันต์ รัชชกูล, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2557). “สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชนกับปฏิบัติการในชีวิตประจําวันของชุมชนในพื้นที่ตําบลโนนหอม อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร.” วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 11 (52). หน้า 177-188.
13. พนา ใจตรง, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2557). “พลวัตการเคลื่อนไหวและการต่อสู้เพื่อฟื้นฟูวิถีชีวิตของชุมชน ที่ได้รับผลกระทบจากเขื่อนปากมูล.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 5 (2). หน้า 81-111.
14. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2556). “การเรียนรู้เชิงประสบการณ์จากกรณีเขื่อนปากมูลในประเทศไทย.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9 (2). หน้า 1-34.
15. กิตติกาญจน์ หาญกุล, กนกวรรณ มะโนรมย์, นิตยา กิจติเวชกุล. (2556). “สนามการต่อรองเชิงอำนาจของชาวชุมชนแออัดในจังหวัดอุบลราชธานี.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9 (1). หน้า 45-74.
16. นิวัฒน์ สงมา, กนกวรรณ มะโนรมย์, วัชรี ศรีคำ, กาญจนา ทองทั่ว. (2555). “การจัดการควบคุมไฟป่าร่วมกันระหว่างรัฐและชุมชน : กรณีศึกษาพื้นที่ป่าดงใหญ่ ตำบลสร้างถ่อน้อยอำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาเจริญ.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8 (1). หน้า 197-215.
17. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2555). “หลังการพัฒนาสู่การเคลื่อนไหวทางสังคมผ่านพื้นที่ความรู้การจัดการทรัพยากรในภูมิภาคแม่โขง.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 8 (3). หน้า 69-102.
18. ปื่นวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2555). “ประเพณีบุญบั้งไฟ : วัฒนธรรมเสี่ยงภัยในยุคสมัยใหม่.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8 (1). หน้า 37-63.
19. ปิ่นวดี ศรีพรรณ, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2554). “รื้อสร้างประเพณี : การเปลี่ยนแปลงของบุญบั้งไฟในยุคโลกาภิวัฒน์.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 7 (2). หน้า 27-48.
20. ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2554). “การท่องเที่ยวที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างในงานประเพณีบุญบั้งไฟ.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, 31 (2). หน้า 107-117.
21. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2552). “พลวัตเมืองชายแดน : กรณีศึกษาเมืองโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 0 (พิเศษ). หน้า 346-394.
22. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2552). “กฎเกณฑ์พื้นบ้านในการจัดการทรัพยากรส่วนร่วม.” วารสารกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 0 (พิเศษ). หน้า 48-55.
23. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2548). “เกษตรอินทรีย์ ในฐานะวาทกรรมการพัฒนา.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2 (2). หน้า 4-53.
24. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2548). “การเมืองเรื่องของอำนาจ และความรู้ กรณีนโยบายรัฐเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2 (1). หน้า 4-34.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Hoogesteger, J. , Suhardiman, D. , Boelens, R. , ... Veldwisch, G.J. & Vos, J. (2023). "River Commoning and the State: A Cross‐Country Analysis of River Defense Collectives". Politics and Governance, 11 (2). Page 280–292.
2. Promkhambut, A. , Yokying, P. , Woods, K. , Fisher, M. , Manorom, K. , Baird, Yong, M. , I.G. , Fox, J. (2023). "Rethinking agrarian transition in Southeast Asia through rice farming in Thailand". World Development, 169 (-). Page 1-14.
3. Suhardiman, D., Manorom, K.& Rigg, J. (2022). "Institutional bricolage (re)shaping the different manifestations of state-citizens relations in Mekong hydropower planning". Geoforum, 134 (-). Page 118–130.
4. Baird, I.G., Manorom, K., Piyadeth, S., Gaja-Svasti, S. & Ninchaluene, C. (2022). "Labour, mechanization, market integration, and government policy: Agrarian change and lowland rice cultivation in northeastern Thailand and southern Laos". Journal of Agrarian Change, 22 (2). Page 278–298.
5. Gaja-Svasti, S., Baird, I.G., Manorom, K. (2022). "The value of wild fish: diet and livelihoods in two rural villages in the Mun River Basin, northeastern Thailand". South East Asia Research, 30 (3). Page 287–307.
6. Kanokwan, M. (2021). "Gender dynamics and the complexities of cattle ownership in North-Eastern Thailand". Asia-Pacific Social Science Review, 21 (3). Page 260–274.
7. Baird, I.G., Manorom, K., Phenow, A., Gaja-Svasti, S. (2020). "Opening the gates of the Pak Mun Dam: Fish migrations, domestic water supply, irrigation projects and politics". Water Alternatives, 13 (1). Page 141 - 159.
8. Baird, I.G., Manorom, K., Phenow, A., Gaja-Svasti, S. (2020). "What about the tributaries of the tributaries? Fish migrations, fisheries, dams and fishers’ knowledge in North-Eastern Thailand". International Journal of Water Resources Development, 36 (1). Page 170–199.
9. Baird, I.G., Manorom, K.. (2019). "Migrating fish and mobile knowledge: situated fishers’ knowledge and social networks in the lower Mekong River Basin in Thailand, Laos and Cambodia". Mobilities, 14 (6). Page 762 - 777.
10. Lebel, L., Lebel, P., Manorom, K., Yishu, Z.. (2019). "(2019).Gender in development discourses of civil society organisations and Mekong hydropower dams.". Water Alternatives,, 12 (1). Page pp.192-220.
11. Manorom, K. (2017). "Hydropower Resettlement in the Mekong Region. Water Knowledge #1". Vientiane, Lao PDR, CGIAR Research Program on Water, Land and Ecosystems, Retrived, 0 (-). Page -.
12. Baird, I. G., Manorom, Aurore Phenow and Sirisak Gaja-Svasti. (2017). "What about the Tributaries of the Tributaries? Fish Migrations, Fisheries, Dams and Local Knowledge along the Sebok River in Northeastern Thailand, Catch and Culture,". -, 2 (3). Page 34-41.
13. Kanokwan Manorom.. (2017). "Lao women in Xe Bang Fai Basin: Indigenous people, Intersectionality, Emotional geographies and impacts of Nam Thuen 2 Dam (Thai language).". Journal of Graduate Volunteer and development, 16 (20). Page 1-45.
14. Kanokwan M, Ian G. Baird & Bruce Shoemaker. (2017). "The World Bank, Hydropowerbased Poverty Alleviation and Indigenous Peoples: On-theGround Realities in the Xe Bang Fai River Basin of Laos". Forum for Development Studies, 44 (2). Page 44(2);pp.275-300. DOI: 10.1080/08039410.2016.1273850.
15. Manorom, K., Baird, I.G., Shoemaker, B.\. (2017). "The World Bank, Hydropower-based Poverty Alleviation and Indigenous Peoples: On-the-Ground Realities in the Xe Bang Fai River Basin of Laos". Forum for Development Studies, 44 (2). Page pp.275-300..
16. Kanokwan M.. (2016). "Guerilla method, research ethical dilemmas and equity on politics of dam in Laos". Journal of Sociology and Anthropology. Thammasat University, 35 (1). Page 171-197. (Thai language).
17. Kanokwan Manorom. (2016). "Lao women in Xe Bang Fai Basin: Indigenous people, Intersectionality". Emotional geographies and impacts of Nam Thuen 2 Dam Journal of Graduate Volunteer and development, 16 (20). Page 1-45.
18. Baird, I.G., Shoemaker, B.P, and Manorom, K. (2015). "The People and their river, the World Bank and its dam: Revisiting the Xe Bang Fai River in Laos". Development and Change, 46 (5). Page 1080–1105.
19. David Hall and Kanokwan M. (2015). "Decision making in the Mekong: Science, Nature and Society.". Journal of Global Asia, 10 (1). Page 20-30.
20. Kanokwan Manorom. (2013). "Experiential learning as teaching method in the case of Pak Mun Dam of Thailand". Journal of Liberal Arts, 0 (-). Page June-December 2013..
21. Xing Lyu, Phillip Hirsch, Ham Kimkong, Kanokwan Manorom and Tubtim Tubtim. (2013). "Cross- boundary Peer learning in the Mekong: A case of field based education in Resource Management". Journal of Contemporary Research and Education, 150 (0). Page 41-52.
22. Kanokwan Manorom. (2012). "Post Development and Social Movement and Knowledge Space in the Mekong region". Journal of Mekong Plurality. Khon Kean University, 8 (3). Page 69-102 (Thai language).
23. Kanokwan Manorom, et a.. (2010). "Cross-Border Contract Farming Arrangements: Variations and Implications in the Lao People’s Democratic Republic". Journal of Mekong Sub-region Development Studies,, 5 (0). Page 33-54.
24. Kanokwan Manorom. (2007). "People’s EIA: Mechanism for People’s Participation in Environmental Management.". Watershed, 12 (1). Page (July-February).

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. กนกวรรณ มะโนรมย์. (2561). ผู้หญิงกับธรรมาภิบาลที่ดินในเขตเศรษฐกิจพิเศษกรณีศึกษา มุกดาหาร. ในน้าเสนอในงานประชุมวิชาการระดับชาติด้านชายแดนศึกษาและการพัฒนาระหว่าง ประเทศ ครั้งที่ 1 เรื่อง ‘คนและทรัพยากรในลุ่มน้้าโขงภายใต้สภาวะความไม่แน่นอน: การ เปลี่ยนแปลง? การปรับตัว? และการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังหลัง?, จัดโดย- เมื่อวันที่ระหว่างวันที่ 15 -17 มิถุนายน 2561.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Kanokwan Manorom. (2018). Co-production of knowledge on wetlands as agro-ecological systems for conservation and development: A case study of Rasi Salai Irrigation project in Si Sa Ket Province, Thailand,. In The international conference on “Communities, Conservation & Livelihoods, During 28th to 30th May 2018. -, Halifax, Novascotia, Canada.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น