ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2557
ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมวิทยาการพัฒนา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2543
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ประเทศไทย 2527

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. บัวพันธ์ พรหมพักพิง, ยรรยง อินทร์ม่วง และมนต์ชัย ผ่องศิริ. (2562). เมืองขอนแก่น: การเติบโต ความท้าทาย และโอกาส. นนทบุรี: มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (สสท).
2. มณีมัย ทองอยู่, มนต์ชัย ผ่องศิริ, สุภีร์ สมอนา, อำไพ หมื่นสิทธิ์, ฐากูร สรวงศ์สิริ และพันธุ์ทิพ ตาทอง. (2561). ลูกของผู้ต้องขังหญิง: เหยื่อของความยุติธรรม. กรุงเทพฯ: โครงการเรือนจำสุขภาวะ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มนํ้าโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. มนต์ชัย ผ่องศิริ. (2558). ไทยพลัดถิ่นคืนถิ่นกับยุทธศาสตร์การดำรงชีพอย่างยั่งยืน. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มนํ้าโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. Maniemai Thongyou, Bounthavy Sosamphanh, Thanapauge Chamaratana, Monchai Phongsiri, and Louis Lebel. (2014). The Impact of Urbanization on the Hinterlands: Perceptions of Households in the Hinterlands of Khon Kaen, Thailand and Vang Vieng, Lao PDR. In: L. Lebel, C.T. Hoanh, C. Krittasudthacheewa, R. Daniel (Eds.), Climate risks, regional integration, and sustain. Kuala Lumpur: SIRD. (pp. 228-247).
5. Maniemai Thongyou, Bounthavy Sosamphanh, Monchai Phongsiri and Thanapauge Chamaratana. (2013). Impacts of Urbanization on the Hinterlands and Local Responses in the Mekong Region: A Study of Khon Kaen, Thailand and Vang Vieng, Lao PDR. Khon Kaen: Center for Research on Plurality in the Mekong Region, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. (Note: published in 3 languages; English, Thai and Lao).

3.2 งานวิจัย    
1. มณีมัย ทองอยู่, มนต์ชัย ผ่องศิริ, สุภีร์ สมอนา, อำไพ หมื่นสิทธิ์, ฐากูร สรวงศ์สิริ และพันธุ์ทิพ ตาทอง. (2560). ลูกของผู้ต้องขังหญิง: เหยื่อของความยุติธรรม. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มนํ้าโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (รายงานการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย เรื่อง “ปฏิรูปเรือนจำ: สร้างชุมชนแห่งความห่วงใยเพื่อพัฒนาชีวิตของผู้ต้องขังหญิง” (ได้รับการสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ: สสส).
2. มณีมัย ทองอยู่ และมนต์ชัย ผ่องศิริ. (2560). รายงานการประเมินเพศสภาวะสำหรับโครงการบริษัทผู้ผลิต (รายงานฉบับสมบูรณ์) เสนอต่อธนาคารโลก. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มนํ้าโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (-).
3. มานะ นาคำ, มนต์ชัย ผ่องศิริ และณัฐพล มีแก้ว. (2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการความเปลี่ยนแปลงและกระบวนการสร้างประชาธิปไตยในชนบทอีสาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). ().
4. บัวพันธ์ พรหมพักพิง, อภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ์, ชลิดา ปิยะธำรงชัย, มนต์ชัย ผ่องศิริ, ธนดร พุทธรักษ์, อรรถพงษ์ ศิริสุวรรณ และณัฐพล มีแก้ว. (2556). การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและภาวะความเปราะบางทางสังคมของเมืองอุดรธานี. ขอนแก่น: กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
5. บัวพันธ์ พรหมพักพิง, ดารุณี จงอุดมการณ์, อาแว มะแส, ฟ้ารุ่ง มีอุดร, มานะ นาคำ, มนต์ชัย ผ่องศิริ และภัทรภร วีระนาคินทร์. (2555). การประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ: การเปลี่ยนแปลงและผลต่อความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์. ขอนแก่น: กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
6. สุจินต์ สิมารักษ์, วราภรณ์ หลวงมณี, มนต์ชัย ผ่องศิริ, ถาวร ดีรุณ และสมใจ ศรีหล้า. (2549). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยพัฒนากลไกการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาท้องถิ่นระดับตำบล-อำเภอ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). ().
7. มณีมัย ทองอยู่, มนต์ชัย ผ่องศิริ, สมศักดิ์ สังวิบุตร, อดิเรก เร่งมานะวงษ์, ธีระพล เหมะธุลินทร์, ศักดิ์ชัย เชษฐบุตร, รังศรี วงษ์ภูธรณ์ และกาญจนพันธุ์ วงศ์ศึก. (2546). ทุนชุมชน ยุทธศาสตร์ครอบครัวและกองทุนหมู่บ้าน. ใน ทุนชุมชน: รากแก้วของการเติบโตของกองทุนหมู่บ้าน, โครงการวิจัยและประเมินกองทุนหมู่บ้าน ชุดที่ 2 บทเรียนจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: พัฒนศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ().
8. Arun Puttanothai, Suchint Simaraks and Monchai Phongsiri. (2007). Annual Report (2006-2007) of Farming Systems Component for the Lao Swedish Upland Agriculture and Forestry Research Programme (LSUAFRP). Luang Prabang and Udomxai Province: Project sites in the north of Lao PDR. (funded by Sida).
9. Dusadee Ayuwat, Maniemai Thongyou and Monchai Phongsiri. (2006). Final Report NT2 Nakai Resettlement (Lao PDR): Monitoring and Evaluation Development and Training Consultant. Khon Kaen: Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. (Longitudinal Study rounds 1-5 (2006-2009)).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. มานะ นาคำ, มนต์ชัย ผ่องศิริ และณัฐพล มีแก้ว. (2564). “อีสานเปลี่ยนผ่าน: การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมและโครงสร้างความรู้สึกในชนบทอีสาน.” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38 (1). หน้า 1-25.
2. Benjapa Kaithong & Monchai Phongsiri. (2563). “Similarities or Differences: The Exposure to Media Messages among Thai-So Women, Kusuman District, Sakon Nakhon Province, Thailand.” วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 13 (2). หน้า 55-69.
3. นิลวดี พรหมพักพิง, บัวพันธ์ พรหมพักพิง, มนต์ชัย ผ่องศิริ, พรเพ็ญ โสมาบุตร และภัทรพร วีระนาคินทร์. (2562). “ทรัพยากรธรรมชาติกับวิถียังชีพของครัวเรือนเกษตรกรรายย่อยในชนบทอีสาน.” วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 32 (2). หน้า 123-144.
4. มนต์ชัย ผ่องศิริ. (2560). “ไทยพลัดถิ่นในสังคมไทยกับการสะสมทุนการเมือง.” วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์, 1 (1). หน้า 89-128.
5. มนต์ชัย ผ่องศิริ, มณีมัย ทองอยู่ และเยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2557). “ไทยพลัดถิ่นในตะนาวศรี: การดำรงชีพของ “ผู้เลือกที่จะอยู่” อย่างคนพลัดถิ่น.” วารสารสังคมลุ่มนํ้าโขง, 10 (2). หน้า 81-106.
6. มนต์ชัย ผ่องศิริ และมณีมัย ทองอยู่. (2556). “คนเข้าเมืองทั่วไปหรือคนพลัดถิ่น?: การต่อรองนิยามตัวตนของไทยพลัดถิ่นในสังคมไทย.” วารสารสังคมลุ่มนํ้าโขง, 9 (2). หน้า 1-24.
7. มานะ นาคำ, มนต์ชัย ผ่องศิริ และฐากูร สรวงศ์สิริ. (2556). “แนวการศึกษากระบวนการไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยในชนบท.” วารสารสังคมลุ่มนํ้าโขง, 9 (2). หน้า 55-78.
8. มนต์ชัย ผ่องศิริ. (2553). “บทวิจารณ์หนังสือ: เมียนมาร์-สยามยุทธ์.” วารสารสังคมลุ่มนํ้าโขง, 6 (3). หน้า 117-124.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Promphakping, B. , Promphakping, N. , Somaboot, P. , Weeranakin, P. , Phongsiri, M. (2023). "The Good Life: Agriculture Transformation and the Pursuance of Goals in Two Rural Villages of Northeastern Thailand". Forest and Society, 7 (2). Page 467–483.
2. Thongyou, M. , Havanon, N. , Phongsiri, M. , Mattariganond, D. (2023). "Incarcerated Mothers: Role Strain and the Redefining of Mothers’ Roles". Journal of Mekong Societies, 19 (2). Page 66–91.
3. Phongsiri, M. , Rigg, J. , Salamanca, A. , Sripun, M. (2022). "Mind the Gap! Revisiting the migration optimism/pessimism debate". Journal of Ethnic and Migration Studies, 49 (2). Page 4–21.
4. Rigg, J. , Phongsiri, M. , Promphakping, B. , Salamanca, A. , Sripun, M.. (2020). "Who will tend the farm? Interrogating the ageing Asian farmer". Journal of Peasant Studies, 47 (2). Page 306–325.
5. Phongsiri, M., Nakham, M., and Meekaew, N. (2020). "Rural Restructuring and Democratization in the Northeast of Thailand". Journal of Mekong Societies, 16 (1). Page 44-66.
6. Phongsiri. M. (2019). "Land Conflict and Land Governance in the Greater Mekong Sub-Region: Case Studies of Urban and Peri-urban in Thailand". Journal of Mekong Societies, 15 (1). Page 87-110.
7. Rigg, J., Phongsiri, M., Promphakping, B., Salamanca, A. and Sripun. M. (2019). "Who Will Tend the Farm?: Interrogating the Ageing Asian Farmer". Journal of Peasant Studies, (-). Page , DOI: 10.1080/03066150.2019.1572605.
8. Rigg, Jonathan; Salamanca, Albert; Monchai Phongsiri and Mattara Sripun. (2018). "More Farmers, Less Farming? Understanding the Truncated Agrarian Transition in Thailand". World Development, 107 (-). Page 327-337.
9. Buapun Promphakping, Yanyong Inmuong, Weerayuth Photaworn, Monchai Phongsiri and Kritsada Phatchanay. (2016). "Climate Change and Urban Health Vulnerability". Asian Cities Climate Resilience Working Paper Series, (-). Page , London: IIED.
10. Monchai Phongsiri, Maniemai Thongyou and Yaowalak Apichatvullop. (2016). "‘Sustainable Livelihoods Framework’ just Survival, not Sustainable: A Case Study of the Returning Thai Diaspora in Thai Society". The Social Sciences, 11 (3). Page 242-248.
11. Monchai Phongsiri, Maniemai Thongyou and Yaowalak Apichatvullop. (2016). "Informal Sector: Survival Strategies of the Returning Thai Diaspora in Thai Society". International Business Management, 10 (4). Page 391-396.
12. Maniemai Thongyou, Bounthavy Sosamphanh, Thanapauge Chamaratana and Monchai Phongsiri. (2014). "Impact of the Urbanization of a Small Town on its Hinterlands: Perceptions of Households in the Hinterlands of Vang Vieng, Lao PDR". Environment Asia, 7 (1). Page 8-12.
13. Maniemai Thongyou, Thanapauge Chamaratana, Monchai Phongsiri and Bounthavy Sosamphanh. (2014). "Perceptions on Urbanization Impact on the Hinterlands: A Study of Khon Kaen City, Thailand". Asian Social Science, 10 (11). Page 33-41.
14. Monchai Phongsiri and Maniemai Thongyou. (2012). "Thai Diaspora: What Happens When They Return ‘Home’?". Journal of Population and Social Studies, 21 (1). Page 59-69.
15. Monchai Phongsiri and Maniemai Thongyou. (2012). "The Returning Thai Diaspora and Livelihood Strategies in Thai Society". European Journal of Social Sciences, 34 (4). Page 671-683.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. มานะ นาคำ, มนต์ชัย ผ่องศิริ และณัฐพล มีแก้ว. (2558). ความเปลี่ยนแปลงและกระบวนการสร้างประชาธิปไตยในชนบทอีสาน. ใน พงศกร เฉลิมชุติเดช และเกษรา ศรีนาคา (บรรณาธิการ). ในโครงการความเปลี่ยนแปลง “ชนบท” ในสังคมไทย: ประชาธิปไตยบนความเคลื่อนไหว, จัดโดยเชียงใหม่: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่-.
2. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง, วีระยุทธ์ โพธิ์ถาวร และมนต์ชัย ผ่องศิริ. (2557). ความเปราะบางของชุมชนเมืองขอนแก่นต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. ในเมืองเปลี่ยน เปลี่ยนเมือง ใครแย่?, จัดโดยสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยร่วมกับ Institute for Social and Environmental Transition (ISET) เมื่อวันที่-, กรุงเทพฯ: สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย.
3. มนต์ชัย ผ่องศิริ และมณีมัย ทองอยู่. (2554). ไทยพลัดถิ่นคืนถิ่นกับยุทธศาสตร์การดำรงชีพในสังคมไทย. ใน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ในการประชุมสังคมวิทยาระดับชาติครั้งที่ 4 “แผ่นดินเดียวกัน แต่เหมือนอยู่คนละโลก: วาระการวิจัยเพื่ออนาคต”, จัดโดยกรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่-.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Monchai Phongsiri. (2017). Urban and Peri-urban Land Governance in Thailand. In the 13th International Conference on Thai Studies (ICTS13), panel on ‘Land Relations and Governance in Globalized Thailand’, During 15-18 July 2017. -, the Chiang Mai International Exhibition and Convention Center, Chiang Mai University.
2. Monchai Phongsiri. (2016). Transnational Marriage: Practices of the Women in Isan Villages, Thailand. In Proceedings of International Conference on Transnational Marriage and ‘Local World’ in East Asia, During -. -, Kobe: Kobe University, (pp.125-137).
3. Monchai Phongsiri, Maniemai Thongyou and Yaowalak Apichatvullop. (2014). Thainess: Indexicality of the Returning Thai Diaspora. In Proceedings of the 12th International Conference on Thai Studies (ICTS12), During -. -, Sydney: Sydney Southeast Asia Centre, University of Sydney, (pp. 269).
4. Monchai Phongsiri and Maniemai Thongyou. (2013). Returning Thai Diaspora: A Debated Prototype of Diaspora Concept in Classical and Modern Paradigm. In Proceedings of the 9th International Conference on Humanities and Social Sciences 2013 (IC-HUSO2013), During -. -, Khon Kaen: Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, (pp. 895-907).
5. Monchai Phongsiri and Maniemai Thongyou. (2013). Thai Diaspora: The Concept in Classical and Modern Paradigm. In Proceedings of the 1st NEU-KKU International Conference on Humanities and Socio-economic Issues in Urban and Regional, During -. -, Hanoi: National Economics University, (pp. 681-696).
6. Monchai Phongsiri and Maniemai Thongyou. (2012). Thai Diaspora: What Happens When They Return ‘Home’?. In Chai Podhisita and Kerry Richter (Eds.). In Journal of Population and Social Studies (Special Issue) on Migrants, Minorities and Refugees: Integration and Well-Being, During -. -, Nakhon Pathom: Thai Association of Population and Social Researchers, (pp. 56-69).
7. Monchai Phongsiri and Maniemai Thongyou. (2011). Transnational Livelihoods of the Returning Thai Diaspora in Thai Society. In Dong Lijuan (Ed.). In Proceedings of the 2011 International Conference on Humanities, Society and Culture (ICHSC 2011), During -. -, Singapore: IACSIT Press, (pp. 89-93).
8. Monchai Phongsiri. (2009). Thai Diasporas and Livelihood Strategies in Thai Society. In Paper presented at the conference “Economic Transition and Social Changes of Countries in Asian Sub-region”, During (28-30 May 2009). -, Grand Millennium Sukhumvit Hotel, Asoke, Bangkok, Funded by Thailand Research Fund: TRF.
9. Monchai Phongsiri. (2001). Permaculture: Practicing of Plan International Thailand for Food Security. In Paper presented for the audience at international symposium on the topic of “Alleviating Hunger at Grassroots Level”, During (27 November – 3 December 2001). conducted by FAO Japan, -.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ : ทักษะเฉพาะด้าน: การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (ในประเด็นพื้นที่เมืองและชานเมือง ที่ดิน การกลายเป็นเมือง การปรับโครงสร้าง-กระบวนการสร้างประชาธิปไตยในชนบท) แนวคิดทางสังคมวิทยา (แนวคิดการดำรงชีพ [Livelihoods] และแนวคิดคนพลัดถิ่น [Diaspora])

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น