ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2556
ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย 2550
ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย 2544

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. ชัยวัฒน์ นันทศรี และวรรษพร อารยะพันธ์. (2558). ความต้องการดุษฏีบัณฑิตสารสนเทศศึกษา ของตลาดแรงงานและสังคม . เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (คณะมนุษยศาสตร์).
2. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2557). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อ สร้างฐานองค์ความรู้ภูมิปัญญาการทำข้าวฮางส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืนในเขต พื้นที่อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์. กาฬสินธุ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ().
3. ทัศนา สลัดยะนันท์ และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2557). การศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตร ปริญญาเอก “สารสนเทศศึกษา”. เชียงใหม่ : คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ().
4. อัจฉรา สุมังเกษตร, ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2557). โครงการวิจัยชุมชนปฏิบัติการด้านการเรียนรู้ : โรงเรียนสมุนไพรชุมชน ตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธ์ุ. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (มนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับพิเศษ. ปีที่ 10 : 289-295).
5. ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2556). สภาพปัจจุบันของการจัดการความรู้บริษัทที่ปรึกษา ในประเทศไทย. ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
6. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. . (2556). การจัดการองค์ความรู้และถ่ายทอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นการทำข้าวฮางสู่การเสริมสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้วยสื่อมัลติมีเดีย อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์. กาฬสินธุ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ().
7. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2555). ระบบสารสนเทศสมุนไพรเพื่อการสร้างเสริม ชุมชนเข้มแข็งด้านภูมิปัญญาสุขภาพ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธ์. กาฬสินธุ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (กำลังดำเนินการ).
8. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2554). e-Tourism: ระบบสารสนเทศส่งเสริมการ ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชนสู่ความยั่งยืน อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ . กาฬสินธุ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วรลักษณ์ โมสิกรัตน์* 1 , ชัยวัฒน์ นันทศรี 1. (2566). “การจัดระบบองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมด้านความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมของชาวไทยวนในพื้นที่จังหวัดเชียงราย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 41 (4). หน้า 1-20.
2. ทิพย์สุดา แสนโส, ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2563). “การจัดการความรู้และพัฒนาระบบฐานความรู้วัฒนธรรมไทลื้อ จังหวัดลำปาง.” Information - อินฟอร์เมชั่น, 27 (2). หน้า 87-105.
3. อัจฉรา รัตนโภคา, ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2562). “ระบบฐานข้อมูลหมอยาพื้นบ้าน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์.” วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น, 41 (2). หน้า 74-87.
4. ศักรินทร์ สุทธิสาร, ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2562). “แนวทางการจัดการภาพถ่ายโบราณในประเทศไทย.” วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 10 (1). หน้า 88-111.
5. ระวี จันทร์ส่อง 1 , ชัยวัฒน์ นันทศรี 2. (2562). “การพัฒนาฐานข้อมูลคำภาษาบาลี.” มนุษยศาสตร์สาร, 23 (2). หน้า 67-84.
6. ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2562). “ระบบสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพด้านการนวดแผนไทยเพื่อการ ผ่อนคลายและการรักษาโรค.” (รายงานการวิจัย) ทุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม, 0 (-). หน้า (สกว.).
7. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2562). “การจัดการความรู้ภูมิปัญญาของปราชญ์ชาวผู้ไทด้านการใช้สมุนไพรรักษาโรค ตำบลหนองผือ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์.” วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์, 6 (1). หน้า 37-53.
8. วรรษพร อารยะพันธ์ และชัยวัฒน์ นันทศรี. (2561). “ความต้องการดุษฎีบัณฑิตสารสนเทศศึกษาของตลาดแรงงานและสังคม..” Veridian E-Journal Slipakorn University, 11 (2). หน้า 1073-1089.
9. ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2560). “การพัฒนาระบบฐานความรู้ด้านการแกะสลักไม้ กรณีศึกษากลุ่มช่างแกะสลัก ในอาเภอหางดงและสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่.” วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า,, 15 (-). หน้า 95 114.
10. อัจฉรา รัตนโภคา, ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2559). “องค์ความรู้ภูมิปัญญาของหมอยาพื้นบ้าน กรณีศึกษา อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 9 (2). หน้า 73-89.
11. ชัยวัฒน์ นันทศรี. . (2559). “การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ของคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.” วารสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 4 (2). หน้า 13-22.
12. ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2559). “ความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการหน่วยงาน ระดับคณะ กรณีศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.” วารสารวิชาการ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 14 (-). หน้า 77-90.
13. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2559). “องค์ความรู้ภูมิปัญญาของหมอยาพื้นบ้าน กรณีศึกษา อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์.” สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร, 9 (2). หน้า 87-104.
14. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2557). “องค์ความรู้ภูมิปัญญาของหมอยาพื้นบ้าน กรณีศึกษา อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์( (Knowledge and wisdom of flok medicine).” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 9 (2). หน้า 87-104.
15. อัจฉรา สุมังเกษตร, ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2557). “โครงการวิจัยชุมชนปฏิบัติการด้านการเรียนรู้ : โรงเรียนสมุนไพรชุมชน ตาบลยอดแกง อาเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์.” มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10 (ฉบับพิเศษ). หน้า 289-295.
16. ชัยวัฒน์ นันทศรี, ดร.ลำปาง แม่นมาตย์. (2556). “สภาพปัจจุบันของการจัดการความรู้ในบริษัทที่ปรึกษาไทย.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 13 (3). หน้า 27-41.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. อัจฉรา สมุงเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2559). องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการใช้ สมุนไพรรักษาโรคโดยปราชญ์ชาวบ้าน. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ (Proceeding) “วิทยาการจัดการวิชาการ 2016 วิจัยบูรณาการสู่สังคม อาเซียนและสากล” , จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ .
2. ศุภชัย วงศ์มูล, ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2558). การพัฒนาระบบบริการตอบคำถามผ่าน สมาร์ตโฟนสำหรับห้องสมุด. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ นิทรรศการวิชาการ , จัดโดยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เมื่อวันที่พฤศจิกายน 2558.
3. อัจฉรา สุมังเกษตร และ ชัยวัฒน์ นันทศรี. (2557). โครงการวิจัยชุมชนปฏิบัติการด้านการเรียนรู้: โรงเรียนสมุนไพรชุมชน ตำบลยอดแกง อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์. ในมหาวิทยาลัย มหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 10 MSU to world Class, 10, จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อวันที่2557.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Thuntiwa, P. , Nantasri ,C.. (2019). Developing a Lanna Food Cooking Gam. In Proceedings of 15 th International Conference on Humanities and Social Sciences 2019 (IC-HUSO 2019), During 11th -12th November 2019. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น