ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก PhD (Linguistics) University of Edinburgh, UK 2551
ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2543
ปริญญาตรี อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2539

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วิภาส โพธิแพทย์. (2562). เอกสารคำสอนรายวิชา 2201 401 การวิเคราะห์ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. วิภาส โพธิแพทย์. (2561). ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, วิภาส โพธิแพทย์ และคเชนทร์ ตัญศิริ. (2561). ศาสตร์แห่งภาษา. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4. วิภาส โพธิแพทย์. (2555). คำเก่า-คำถิ่นในคำซ้อน(ทุนพัฒนาอาจารย์ใหม่/นักวิจัยใหม่ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. อภิชญา แก้วอุทัย และวิภาส โพธิแพทย์. (2562). “ค่าเชื่อมบอกเหตุในภาษาไทยถิ่นใต้ : การศึกษาเชิงประวัติ.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 41 (1). หน้า 1-22.
2. ศุภชัย ต๊ะวิชัย และวิภาส โพธิแพทย์. (2562). “ความหมายตามปริบทของค่าบุพบท แก่ ในสมัยสุโขทัย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 41 (2). หน้า .
3. วิภาส โพธิแพทย์. (2557). “กระบวนการเกิดคำใหม่ในภาษาไทย.” ภาษาและภาษาศาสตร์, 32 (2). หน้า 1-24.
4. กนกวรรณ วารีเขตต์ และวิภาส โพธิแพทย์. (2556). “การกลายเป็นค่าไวยากรณ์ของค่านาม “ผม.” วรรณวิทัศน์, 13 ( ). หน้า 197-212.
5. นพวรรณ เมืองแก้ว และวิภาส โพธิแพทย์. (2556). “กรุณา” “หน่อย” : ที่ มาของคำแสดงการขอร้องในภาษาไทย.” วรรณวิทัศน์, 13 ( ). หน้า 95-114.
6. สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ และวิภาส โพธิแพทย์. (2556). “สัมพันธกริยา “เป็น” ในภาษาไทยปัจจุบัน.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 28 ( ). หน้า 1-28.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Pothipath, V. (2012). "Global Distribution of Nominal Plural Reduplication". Typological Studies on Languages in Thailand and Japan, 0 ( -). Page 57- 75.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Choemprayong S, Pittayaporn P, Pothipath V, Jatuthasri T, Kaenmuang J. (2018). Development of Content-Based Metadata Scheme of Classical Poetry in Thai National Historical Corpus. In Maturity and Innovation in Digital Libraries, 20th International Conference on Asia-Pacific Digital Libraries, ICADL 2018 Hamilton, During November 19-22, 2018. Hamilton, New Zealand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     25     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ : ภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ แบบลักษณ์ภาษา อรรถศาสตร์ วากยสัมพันธ์) ภาษาไทยถิ่น

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น