ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Sociology) Colorado State University United state of America 2527
ปริญญาโท ค.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2520
ปริญญาตรี อ.บ. (ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2515

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, วิยุทธ์ จารัสพันธ์, & อุทัยวรรณ ตรีนุชกร. (2543). “แบบแผนการเรียนรู้เกี่ยวกับ ชนบทไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. ในเอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง อุดมศึกษากับการแก้ปัญหาความยากจน: บทบาทของการปฏิรูปชนบทศึกษา. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย.
2. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (บรรณาธิการ). (2536). สังคมศาสตร์เบื้องต้น. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
3. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (บรรณาธิการ). (2535). วนศาสตร์ชุมชน: ทางเลือกสาหรับการจัดการทรัพยากร ป่าไม้. ขอนแก่น: โครงการวิจัยวนศาสตร์ชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2535). “การวิจัยเพื่อการพัฒนา”. ใน ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2534). สังคมวิทยาชนบท: พื้นฐานการพัฒนา. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
6. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2533). “ความสัมพันธ์ของป่าไม้กับความมั่นคงของระบบอาหารในชนบท”. ใน ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์ และคณะ (บรรณาธิการ). พฤติกรรมสุขภาพ.. กรุงเทพฯ: ข่ายงานวิจัยพฤติกรรม สุขภาพ ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.
7. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2531). “การประยุกต์ความรู้ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์”. ใน ปัญหา ทรัพยากรป่าไม้: สถานการณ์ ปัญหาและอนาคต. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
8. Apichatvullop, Y. (Ed). (1986). Issues and Strategies for Resource Management in Northeast Thailand. Khon Kaen,Thailand : Report on the Workshop Organized by the ISANET Preparatory Committee.

3.2 งานวิจัย    
1. พัชรินทร์ ลาภานันท์, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ และ เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2550). การแต่งงาน ข้ามวัฒนธรรม : การศึกษาสถานภาพองค์ความรู้. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้าโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
2. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ และคณะ. (2533). กลุ่มในป่าชุมชนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: โครงการ วนศาสตร์ชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
3. วิไลวัจส์ กฤษณะภูติ, ดุษฎี กาฬอ่อนศรี, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ & กัลยา สุพรรณเภสัช. (2529). กรณีศึกษา กลุ่มในบ้านห้วยหินลาด จังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น: โครงการวิจัยระบบการทาฟาร์ม มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
4. Apichatvullop, Y, & Srisawang, S. (2000). “Environmental degradation, social and cultural issues in Nakhon Ratchasima Province”. Nakhon Ratchasima: United Nations Center for Regional Development.. ().
5. Apichatvullop, Y., & Srisawang, S. (2000). Environmental Degradation, Social and Cultural Issues in Nakhon Ratchasima Province. Japan: A sub-project of the Human Security and Regional Development. United Nations Center for Regional Development. ().
6. Apichatvullop, Y., Sandewall, K., & Surinthraboon, N. (1995). The Effects of the Reforestation and Extension Project on the Target Villages in the Northeast of Thailand. Khon Kaen , Thailand : Research report presented to the JICA-RFD Committee of the Reforestation and Extension Project in the Northeast. ().
7. Subhadhira, S., Apichatvullop, Y., Kunurat, P., & Hafner, J. A. (1987). Case Studies of Human- Forest Interaction in Northeast Thailand. (Final Report 2). Khon Kaen, Thailand : Northeast Thailand Upland Social Forestry Project by Kasetsart University, Khon Kaen University and Ford Foundation.. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. Monchai Phongsiri, Maniemai Thongyou, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2557). “ไทยพลัดถิ่นในตะนาวศรี : การดำรงชีพของ ผู้เลือกที่จะอยู่ อย่างคนพลัดถิ่น.” วารสารสังคมลุ่มน้าโขง, 10 (2). หน้า 81-106.
2. ปนัดดา ภู่เจริญศิลป์, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, ดุษฎี อายุวัฒน์. (2555). “การจัดการความเสี่ยงทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของชุมชนชายแดนไทย-ลาว.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 8 (2). หน้า 47-70.
3. ปนัดดา ภู่เจริญศิลป์, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, ดุษฎี อายุวัฒน์. (2555). “ปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการจัดการความเสี่ยงทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของชุมชนชายแดนไทย-ลาว.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 12 (4). หน้า 147-160.
4. ปื่นวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2555). “ประเพณีบุญบั้งไฟ : วัฒนธรรมเสี่ยงภัยในยุคสมัยใหม่.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8 (1). หน้า 37-63.
5. ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์, มณีมัย ทองอยู่, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2555). “การสร้างพื้นที่ทางสังคมของคนข้ามเพศ.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 31 (5). หน้า 97-110.
6. พรนภา แสงดี, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, ลำปาง แม่นมาตย์. (2554). “ปัจจัยที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรมสารสนเทศของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาไทย.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 4 (1). หน้า 39-54.
7. ปิ่นวดี ศรีพรรณ, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2554). “รื้อสร้างประเพณี : การเปลี่ยนแปลงของบุญบั้งไฟในยุคโลกาภิวัฒน์.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 7 (2). หน้า 27-48.
8. ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์, Maniemai Thongyou, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2554). “ร้านเสริมสวย : พื้นที่การสร้างตัวตนของคนข้ามเพศ.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 7 (2). หน้า 75-88.
9. ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย์. (2554). “การท่องเที่ยวที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างในงานประเพณีบุญบั้งไฟ.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, 31 (2). หน้า 107-117.
10. พรนภา แสงดี, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, ลำปาง แม่นมาตย์. (2553). “วัฒนธรรมสารสนเทศของสถาบันอุดมศึกษาไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 28 (1). หน้า 33-49.
11. พรนภา แสงดี, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, ลำปาง แม่นมาตย์. (2553). “ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาวัฒนธรรมสารสนเทศในสถาบันอุดมศึกษาไทย.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 3 (2). หน้า 1-14.
12. ภัชราภรณ์ สาคำ, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2552). “ทุนทางวัฒนธรรมในการจัดการป่าชุมชนเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาชุมชนป่าสะแข ตำบลอิปุ่ม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 5 (2). หน้า 65-88.
13. จีรศักดิ์ โสะสัน, เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, Maniemai Thongyou. (2551). “นูรุ้ลอีมานและกระบวนการสร้างชุมชนมุสลิมในพหุสังคมอีสาน.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 4 (1). หน้า 53-92.
14. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2548). “ประวัติศาสตร์ลาวในหนังสือแบบเรียนลาว นับตั้งแต่สมัยเอกราชถึงสปป. ลาว สังคมนิยม (1949-1986).” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 1 (2). หน้า 87-120.
15. เยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2540). “การวิเคราะห์ชุมชนเพื่อการพัฒนาป่าชุมชน.” ข่าวสารป่ากับชุมชน, 4 (9). หน้า 15-27.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Phongsiri, M., Thongyou, M., Apichatvullop, Y. (2016). "Sustainable Livelihoods Framework’ Just Survival Not Sustainable: A Case Study of the Returning Thai Diaspora in Thai Society". The Social Sciences, 11 (3). Page 242-248.
2. Phongsiri, M., Thongyou, M., Apichatvullop, Y. (2016). "Informal sector: Survival strategies of the returning thai diaspora in Thai society". International Business Management, 10 (4). Page 391-396.
3. Chamnanmak, R., Apichatvullop, Y., Lapanun, P. (2016). "“Border Trade Area: Social Networks and Power Relations of the Thai-Lao PDR Trade System”". The Social Sciences, 11 (3). Page 317-323.
4. Pucharoensilp, P., Apichatvullop, Y., Ayuwat, D. (2012). "Factors Influencing in Social and Environmental Risk Management of Communities in Thai-Lao Border Area". Journal of Mekong Societies, 8 (2). Page 47-70.
5. Apichatvullop, Y. (2001). "Environmental degradation in Nakhon Ratchasima Province, Thailand". Regional Development Dialogue, 22 (2). Page 212-221.
6. Apichatvullop, Y. (1993). "Local participation in social forestry". Regional Development Dialogue, 14 (1). Page 34–44.
7. Hafner, J.A., Apichatvullop, Y. (1990). "Farming the forest: Managing people and trees in reserved forests in Thailand". Geoforum, 21 (3). Page 331–346.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Chumnanmak, R., Apichatwallop, Y., Lapanun, P. (2014). Power Relation and Social Network between Agricultural Product Import/Export Entrepreneurs in the Thai–Lao PDR Border Trade System. In A paper presented in The 3rd MSSRC International Conference on , During 11 -12 September. The Mekong Sub- region Social Research Center (MSSRC), Ubon Ratchathani University, Thailand.
2. Chumnanmak, R., Apichatwallop, Y., Lapanun, P. (2014). The network of the border entrepreneurs: Power over Thai-Lao PDR border trade economic system. In Asia-Pacific Sociological Association (APSA) Conference: “Transforming Societies: Contestations and Convergences in Asia and the Pacific”, During 15-16 February. Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University, Thailand.
3. Phongsiri, M., Thongyou, M., Apichatvullop, Y. (2014). “Thainess: Indexicality of the Returning Thai Diaspora”. In Proceedings of the 12th International Conference on Thai Studies (ICTS12), During (pp. 269). Sydney Southeast Asia Centre, University of Sydney., Sydney.
4. Chumnanmak, R., Apichatwallop, Y. (2013). A Social Network Study of Agricultural Product Import/Export Entrepreneurs: Development Strategy towards the ASEAN Economic Community. In A paper presented in International Conference on Information and Social Science (ISS), During 17-18 March. Graduate School of Information Science,, Nagoya University International Academy Institute, Japan.
5. Apichatvullop, Y. (1994). “Social forestry and its implication for natural resource and environment management in shifting cultivation area”. In Environmentally Sound Development and Quality of Life in Shifting Cultivation Area, During (pp. 73-102). Proceedings from a Symposium held at the Department of Forestry, Ministry of Agriculture and Forestry, Vientiane, Lao PDR.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น