ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Anthropology) University of Washington, Seattle, United State of America 2544
ปริญญาโท ศศ.ม. (วิจัยประชากรและสังคม) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2531
ปริญญาตรี ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเทศไทย 2528

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และชยันต์ วรรธนะภูติ. (2564). วิถีชีวิตชาติพันธุ์ในเมือง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และโอลิเวียร์ เอฟราร์ด.. (2556). ย้อนยลชนชาติพันธุ์: ภาพถ่ายกึ่งศตวรรษวิถีชีวิตบนพื้นที่ สูงในภาคเหนือ. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษําชาติพันธุ์และการพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
3. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2554). “กลุ่มชาติพันธุ์ม้งในบริบทของรัฐชาติสมัยใหม่”. ใน สุภางค์ จันทวานิช และถวิล เปลี่ยนศรี (บ.ก.), ม้งลาวในประเทศไทย: นโยบํายและการดำเนินกํารของภาครัฐไทย (2518-2552). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
4. ประสิทธิ์ ลีปรีชา, ชยันต์ วรรธนะภูติ และจุลจิรํา สุขนภาสวัสดิ์. (2553). “กึ่งศตวรรษการพัฒนาที่สูง: จาก ความมั่นคงของรัฐสู่ความไม่มั่นคงของชุมชนชําติพันธุ์”. ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว (บ.ก.), ทบทวนการ พัฒนํา: จากท้องถิ่นภาคเหนือ สู่ภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่..
5. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และปนัดดา บุณยสาระนัย.. (2553). “กึ่งศตวรรษกํารพัฒนาที่สูง: จากความมั่นคงของรัฐสู่ ความไม่มั่นคงของชุมชนชาติพันธุ์”. ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว (บ.ก.), ทบทวนการพัฒนา: จากท้องถิ่น ภาคเหนือ สู่ภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่..
6. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2552). องค์ความรู้พื้นบ้านกลุ่มชาติพันธุ์ม้งชุมชนแม่สาใหม่.. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
7. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2551). การค้า พื้นที่ และอัตลักษณ์ม้งดอยปุย ใน ยศ สันตสมบัติ (บ.ก.), อำนาจ พื้นที่ และอัตลักษณ์ทางชําติพันธุ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
8. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2548). ม้ง: หลากหลายชีวิตจากขุนเข้าสู่เมือง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
9. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และยรรยง ตระการธำรง. (2548). “สร้างฐาน: อคติทางชาติพันธุ์กับการไม่กล้าแสดงตนของ คนบนที่สูง”. ใน วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง, เอกสารวิชาการลำดับที่ 52 ศูนย์ มานุษยวิทยําสิรินธร. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
10. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2547). “การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชําติพันธุ์ม้ง”. ใน ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บ.ก.), อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
11. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2547). “การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง”. ในวาทกรรมอัตลักษณ์, หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติและชาติพันธุ์: วิถี ชีวิตและความหลากหลายทํางชาติพันธุ์ในโลกปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
12. ประสิทธิ์ ลีปรีชา, ยรรยง ตระการธำรง และวิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์.. (2547). เมี่ยน: หลากหลายชีวิตจากขุนเข้าสู่เมือง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
13. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2546). “ความรู้และมายาคติเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง”. ใน ชูพินิจ เกษมณี และคณะ (บ.ก.), ชาติพันธุ์และมายาคติ.. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม..
14. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2546). “อัตลักษณ์ทางเครือญาติของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งท่ามกลํางความทันสมัย”. ใน ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บ.ก.), อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
15. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2538). รายงานกํารวิจัยประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการใช้สารเสพติด ในชุมชนแม่สาใหม่.. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
16. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2538). เวทีผู้ถูกท่องเที่ยว. บทความและการอภิปรายทางวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
17. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2537). สุภาษิตคำสอนม้ง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
18. ประสิทธิ์ ลีปรีชํา. (2534). การจัดการศึกษาด้านสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาสาธารณสุข. รายงานกํารประชุม เชิงปฏิบัติการ. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
19. ประสิทธิ์ ลีปรีชา และคณะ.. (2534). กํารวิจัยทางชาติพันธุ์ในลาว-ไทย. รายงานการประชุมทํางวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
20. Leepreecha, Prasit. (2014). “Tourism in Mountainous Communities: The Politics of Ethnic Tourism in Northern Thailand”.. Karl Husa, Helmut, Vienna: Thailand”. In Karl Husa, Alexandra Trupp, and Helmut Wohlschlagl (eds.), Southeast Asia Mobility Transition: Issues and Trends in Migration and Tourism. Vienna: Department of Geography and Regional Research, University of Vienna.
21. Leepreecha and Evrard.. (2013). Picturing Highlanders: A Half-century of Photography in Northern Thailand. Chiang Mai: Center for Ethnic Studies and Development and Institute for Research and Development.
22. Leepreecha, Prasit. (2011). “Hmong Ethnic Group in the Context of Modern Nation-State”. In Supang Chantavanich and Tawin Pleansri (eds.), The Laos Hmong in Thailand: State Policies and Operations (1975 – 2009). Bangkok: Sriboon Computer-Printing Limited Partnership.
23. Leepreecha and Buadaeng. (2009). “Modern Education Systems and Impact on Ethnic Minorities”.. In Audrey Baron-Gutty and Supat Chupradit (eds.), Education, Economy and Identity:: Ten Years of Educational Reform in Thailand. IRASEC Occasional Paper..
24. Leepreecha and Evrard. (2009). Staging the Nation, Exploring the Margins: Domestic Tourism and Its Political Implications in Northern Thailand.. London and New York: Routledge: In Tim Winter, Peggy Teo and T.C. Chang (eds.), Asia on Tour: Exploring the Rise of Asian Tourism.
25. Leepreecha, Prasit. (2008). “The Politics of Ethnic Tourism in Northern Thailand”. In Andrew Adam and Mingsarn Kaosa-ard (eds.), Mekong Tourism: Competitiveness Opportunities.. Chiang Mai: Social Research Institute, Chiang Mai University.
26. Leepreecha, Prasit. (2008). “The Role of Media Technology in Reproducing Hmong Ethnic Identity”. In Don McCaskill, Prasit Leepreecha, and He Shaoying (eds.), Living in a Globalized World: Ethnic Miniorities in the Greater Mekong Subregion.. Chiang Mai: Mekong Press.
27. Leepreecha, McCaskill, and Shaoying (eds.). (2008). Living in a Globalized World: Ethnic Minorities in the Greater Mekong Subregion.. Chiang Mai: Mekong Press.
28. Leepreecha, McCaskill, and Buadaeng (eds.). (2008). Challenging the Limits: Indigenous Peoples of the Mekong Region. Chiang Mai: Mekong Press.
29. Leepreecha, Prasit. (2004). The Construction and Reproduction of Hmong Ethnic Identity in China.. Chaina: A final report submitted to Asian Scholarship Foundation.
30. Leepreecha, Prasit. (2004). “Ntoo Xeeb: Cultural Redefinition for Forest Conservation among the Hmong in Thailand”.. In Nicholas Tapp, Jean Michaud, Christian Culas and Gary Yia Lee (eds.), Hmong/Miao in Asia, Chiang Mai: Silkworm Books.: -.
31. Leepreecha, Prasit. (2001). Kinship and Identity among Hmong in Thailand. Ph.D. Dissertation, Department of Anthropology,. Washington: University of Washington, Seattle..
32. Leepreecha, Prasit. (2000). “Christian Conversion and Hmong Kinship Identity in Thailand”. In Gepffrey B. Hainsworth (ed.), Globalization and the Asian Economic Crisis: Indigenous Responses, Coping Strategies, and Governance Reform in Southeast Asia. Vancouver, Canada: Center for Southeast Asia Research, Institute of Asian Research, University of British Columbia..
33. Leepreecha, Prasit. (1997). “Jungle Tours: A Government Policy in Need of Review”. In Don McCaskill, and Ken Kampe (eds.), Development or Domestication?: Indigenous Peoples of Southeast Asia.. Chiang Mai: Silkworm Books.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ประสิทธิ์ ลีปรีชา, ขวัญชีวัน บัวแดง และปนัดดํา บุณยสําระนัย.. (2557). “ศิวิไลซ์ข้ามพรมแดน: การเผยแพร่ ศาสนาของม้งโปรเตสแตนต์ในเอเชียอาคเนย์.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 26 (1). หน้า 15-51.
2. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2556). “พหุวัฒนธรรมนิยมจากรากหญ้า: ขบวนการเคลื่อนไหวของเครือข่ายชนเผ่าพื้นเมือง และชาติพันธุ์ในประเทศไทย.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25 (2). หน้า 59-106.
3. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2550). “ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 19 (1). หน้า 276-309.
4. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2548). “สถาบันวิจัยชาวเขากับการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์บนที่สูงในภาคเหนือ.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 17 (1). หน้า 203-237.
5. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2545). “เครือญาติข้ามพรมแดนรัฐชาติ: กรณีกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 15 (1). หน้า 167-186.
6. ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2541). “กลุ่มชาติพันธุ์ม้งกับปัญหายาเสพติด.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 11 (1). หน้า 136-165.
7. Leepreecha and Evrard. (2009). “Monk, Monarch and Mountain Folks: Domestic Tourism and Internal Colonialism in Northern Thailand.” Critical of Anthropology, 29 (3). หน้า 300-323.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Leepreecha, P. (2019). "Becoming Indigenous Peoples in Thailand". Journal of Southeast Asian Studies, 50 (1). Page 32-50.
2. Thaklong, N., Leepreecha, P., Wittayapak, C., Mangkang, C. (2019). "Trans-national education system for students from the Mekong region Thai Universities". Asian Journal of University Education, 15 (1). Page 2-19.
3. Baird, I.G., Leepreecha, P., Yangcheepsutjarit, U. (2017). "Who should be considered ‘Indigenous’? A survey of ethnic groups in northern Thailand". Asian Ethnicity, 18 (4). Page 543-562.
4. Evrard, O., Leepreecha, P. (2009). "Monks, Monarchs and Mountain Folks: Domestic Tourism and Internal Colonialism in Northern Thailand". Critique of Anthropology, 29 (3). Page 300-323.
5. Kunstadter, P., Lennington Kunstadter, S., Podhisita, C., Leepreecha, P. (1993). "Demographic variables in fetal and child mortality:". Hmong in Thailand. Social Science and Medicine, 36 (9). Page 1109-1120.
6. Kunstadter, P., Kunstadter, S.L., Leepreecha, P., Thao, R.S. and Yang, W.S.. (1992). "Human biology ". An international record of research, 64 (6). Page 821-841.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Leepreecha, Prasit.. (2013). “The Impossible Sedentism: The Lao Hmong ‘Illegal Immigrants’ in Thailand”. In In Olivier Evrard, Dominique Guillaud, and Chayan Vaddhanaphuti (eds.), Mobility and Heritage in Northern Thailand and Laos: Past and Present., During 1-2 December 2011. Proceedings of the Chiang Mai Conference, Chiang Mai: Good Print.
2. Leepreecha and Evrard. (2006). Climbing up the Doi Suthep: Domestic Tourism and the Staging of the Thai Nation. In A Paper presented at “Of Asia Origin”: Rethinking of Contemporary Tourism in Asia, During 7-9 September.. An International Conference Organized by Asia Research Institute,, National University of Singapore.
3. Leepreecha, Prasit. (1998). Modernization and the Construction of Hmong Kinship Identity. . In Paper presented at Vietnamese-Thai Collaborative Workshop “Ethnic Communities and Changing Environment” held, During 9-15 December 1998. -, Chiang Mai University, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น