ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ : สอบ ป.โท เกณฑ์ 58 และป.โท-เอก เกณฑ์ 65 ผ่านความเห็นชอบ กก.บศ. ครั้งที่ 1/2568, 7 ม.ค.68
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2563). การวิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยด้านภาษาและวัฒนธรรมที่เผยแพร่ช่วงปี พ.ศ. 2520-2561 . เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (รายงานการวิจัย).
2. พรชนิตว์ ลีนาราช และอังสนา ธงไชย. (2559). ระดับการรู้สารสนเทศและการพัฒนาข้อเสนอรูปแบบการ จัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศนักศึกษาปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (รายงานการวิจัย 161 หน้า).
3. พรชนิตว์ ลีนาราช, สุทธิลักษณ์ พัดเพ็ง, ยุวดี เพชระ, กิตติยา สุทธิประภา, และวราภรณ์ พนมศิริ. (2557). ความคาดหวังของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต่อการบริการห้องสมุดเพื่อสนับสนุนงานวิจัย ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น รายงานการวิจัย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (หน้า 180 ).
4. Unchasa Seenuankaew, Jurairat Rattichot, Bhornchanit Leenaraj. (2018). . Nakhon Si Thammarat: Information and Learning Science. (https://doi.org/10.1108/ILS-07-2017-0070).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พินิจ อัศจรรย์ และพรชนิตว์ ลีนาราช. (2567). “การวัดระดับการรู้เท่าทันสื่อสังคมของผู้สูงอายุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 42 (3). หน้า 53-74.
2. วิชชุดารินทร์ สืบศิริวิริยกร, พรชนิตว์ ลีนาราช และชัยวัฒน์ นันทศรี. (2567). “สภาพการใช้งานสื่อดิจิทัลในบริบทของการดูแลรักษาผู้ป่วยออทิซึม.” มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25 (2). หน้า 321-336.
3. กนกวรรณ รุ่งรังษี และ พรชนิตว์ ลีนาราช. (2567). “สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับบรรณารักษ์ห้องสมุดด้านการแพทย์ในประเทศไทย.” มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 25 (1). หน้า 215-232.
4. กัญญารัตน์ ใจจินา และ พรชนิตว์ ลีนาราช. (2566). “ความต้องการการพัฒนาทางวิชาชีพของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลในประเทศไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 41 (1). หน้า 39-65.
5. เรณุกา สันธิ และ พรชนิตว์ ลีนาราช. (2565). “สมรรถนะการรู้ดิจิทัลสำหรับบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย.” อินฟอร์เมชั่น, 29 (1). หน้า 131-154.
6. ประภัย สุขอิน และ พรชนิตว์ ลีนาราช. (2565). “ปัจจัยความสำเร็จในการจัดบริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย.” อินฟอร์เมชั่น, 29 (1). หน้า 1-17.
7. ทานตะวัน มหาวรรณ์ และพรชนิตว์ ลีนาราช . (2564). “ความต้องการและปัญหาการใช้ห้องสมุดประชาชนของผู้สูงอายุในภาคเหนือของไทย.” อินฟอร์เมชั่น, 28 (1). หน้า 17-38.
8. ประภัย สุขอิน, และพรชนิตว์ ลีนาราช. (2562). “การศึกษาสภาพการจัดบริการและแนวคิดการจัดบริการในอนาคตของห้องสมุดมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศไทย.” อินฟอร์เมชั่น, 26 (1). หน้า 13-34.
9. มุกดา ดวงพิมพ์, ศุลีพร พันธุ์ธนวิบูลย์, สิริพร วิธีนันทกิตต์, พรชนิตว์ ลีนาราช และ บุญเลิศ มรกต. (2561). “การศึกษาการใช้หนังสือภาษาต่างประเทศสาขาศิลปกรรมศาสตร์ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” อินฟอร์เมชั่น, 15 (2). หน้า 22-34.
10. นิภาวรรณ ใหคำ และพรชนิตว์ลีนาราช. (2561). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขในการทำงานของนักวิชาชีพสารสนเทศห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยในประเทศ.” อินฟอร์เมชั่น, 25 (1). หน้า 65-79.
11. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2560). “ทักษะการรู้ดิจิทัลเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้.” วารสารห้องสมุดสมาคม ห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 61 (2). หน้า 76-92.
12. พรชนิตว์ ลีนาราช และ อังสนา ธงชัย. (2559). “ข้อเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศจากผลการศึกษาระดับการรู้สารสนเทศของนักศึกษาปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.” อินฟอร์เมชั่น, 23 (2). หน้า 33-18.
13. ทิพวรรณ สุขรวย และพรชนิตว์ ลีนาราช. (2558). “สมรรถนะที่จำเป็นของนักวิชาชีพสารสนเทศในการปฏิบัติงานบริการสนับสนุนการวิจัยในห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย.” วารสารอินฟอร์เมชั่น, 22 (2). หน้า 35- 49.
14. พรชนิตว์ ลีนาราช, สุทธิลักษณ์ พัดเพ็ง, ยุวดี เพชระ, กิตติยา สุทธิประภา และ วราภรณ์ พนมศิริ. (2557). “ความคาดหวังของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีต่อการบริการห้องสมุด เพื่อสนับสนุนงานวิจัยของมหาวิทยาลัยขอนแก่น.” อินฟอร์เมชั่น, 21 (1). หน้า 31-45.
15. พรชนิตว์ ลีนาราช และ กุลธิดา ท้วมสุข. (2555). “สภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดบริการสนับสนุนการวิจัยของห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยไทย.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 30 (3). หน้า 1-28.
16. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2555). “แนวคิดการตลาดในการจัดบริการสารสนเทศในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา.” อินฟอร์เมชั่น, 19 (2). หน้า 96-105.
17. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2554). “บทบาทของห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยในการสนับสนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัย .” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29 (2). หน้า 73-86.
18. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2553). “รูปแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ.” อินฟอร์เมชั่น, 17 (2). หน้า 18-28.
19. สิริพร วิธินันทกิตต์, เดชศักดิ์ ศานติวิวัฒน์, จีรภา สิมะจารึก, วิลาวัณย์ โต๊ะเอี่ยม, สิริพร ทิวะสิงห์, พรชนิตว์ ลีนาราช, ทรรศนีย์ แผลงสูงเนิน, สีรุ้ง พลธานี และ สุมิตรา จิระวุฒินันท์. (2552). “ความคิดเห็นของบุคลากรสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต่อการดำเนินงานภายใต้โครงสร้างองค์กรรูปแบบใหม่.” อินฟอร์เมชั่น, 16 (1). หน้า 34-46.
20. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2552). “การนำ TQM ไปใช้กับห้องสมุดใหม่.” อินฟอร์เมชั่น, 16 (2). หน้า 34-36.
21. การวิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2551). “การวิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.” อินฟอร์เมชั่น, 15 (2). หน้า 15-21.
22. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2551). “ปัจจัยที่ทำให้ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเป็นองค์การเรียนรู้.” อินฟอร์เมชั่น, 15 (1). หน้า 1-13.
23. พรชนิตว์ ลีนาราช และ ยุวดี มโนมยิทธิกาญจน์. (2549). “การศึกษาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น.” อินฟอร์เมชั่น, 13 (2). หน้า 60-69.
24. พรชนิตว์ ลีนาราช และ มาธูร ศาสตรวาทิต. (2548). “วิเคราะห์สัดส่วนของจำนวนทรัพยากรที่มีกับจำนวนการใช้ของห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขนแก่น.” อินฟอร์เมชั่น, 12 (2). หน้า 7-19.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Leenaraj, B. , Arayaphan, W. , Intawong, K. & Puritat, K. (2023). "A gamified mobile application for first-year student orientation to promote library services". Journal of Librarianship and Information Science, 55 (1). Page 137–150.
2. Seenuankaew, U. , Rattichot, J. , Phetwong, W. & Leenaraj, B. (2018). "Thai farmers’ information needs and seeking that lead to mobile phone application development for production and marketing promotion". Information and Learning Science, 119 ((5-6)). Page 260–274.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Watcharee Phetwong, Bhornchanit Leenaraj, Nanthiya Charin, Chadaphon Janchian, & Krisorn Sawangsire. (2016). Cultural Digital Map Prototype of Tourist Attractions . In International Conference on Asian Digital LibrariesICADL 2016, During 2016. NirasSuphan written by SunthonPhu, Poet of Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2568     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator