ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | PhD (Linguistics) | University of Edinburgh, U.K. | 2551 |
ปริญญาโท | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตร์) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย | 2543 |
ปริญญาตรี | อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย | 2539 |
1. | วิภาส โพธิแพทย์. (2562). เอกสารคำสอนรายวิชา 2201 401 การวิเคราะห์ภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
2. | วิภาส โพธิแพทย์. (2561). ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
3. | พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, วิภาส โพธิแพทย์ และคเชนทร์ ตัญศิริ. (2561). ศาสตร์แห่งภาษา. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
4. | วิภาส โพธิแพทย์. (2555). คำเก่า-คำถิ่นในคำซ้อน (ทุนพัฒนาอาจารย์ใหม่/นักวิจัยใหม่ กองทุน รัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
1. | พิมพ์ภัทร ชุมแก้ว และ วิภาส โพธิแพทย์. (2564). “ความหมายของ แม่ ในคำประสมภาษาไทยถิ่นใต้.” วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 28 (2). หน้า 217-264. |
2. | ปาณิสรา เลาหล่าย, ใกล้รุ่ง อามระดิษ และ วิภาส โพธิแพทย์. (2564). “คำลักษณนามบอกรูปทรงในภาษาเขมร.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 38 (1). หน้า 162-207. |
3. | เอกชิต สุขประสงค์ และ วิภาส โพธิแพทย์. (2564). “การศึกษาหมวดคำและความหมาย ของคำว่า “ใน” ในสมัยสุโขทัย.” วรรณวิทัศน์ , 21 (1). หน้า 175-206. |
4. | ศุภชัย ต๊ะวิชัย และ วิภาส โพธิแพทย์. (2563). “การเปลี่ยนแปลงทางความหมายในระดับหน่วยสร้างของโครงสร้างภาพร่างจุดหมายในภาษาไทย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 42 (2). หน้า 191-219. |
5. | กฤตกร สารกิจ, ใกล้รุ่ง อามระดิษ และ วิภาส โพธิแพทย์. (2563). “รูปแบบทางวากยสัมพันธ์และความหมายของคำว่า ទៅ /tɨv/ ‘ไป’ และ មក /mɔɔk/ ‘มา’ ในภาษาเขมร.” ภาษาและภาษาศาสตร์, 38 (2). หน้า 38-60. |
6. | อภิชญา แก้วอุทัย และ วิภาส โพธิแพทย์. (2562). “คำเชื่อมบอกเหตุในภาษาไทยถิ่นใต้.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 41 (1). หน้า 1-22. |
7. | ศุภชัย ต๊ะวิชัย และ วิภาส โพธิแพทย์. (2562). “ความหมายตามปริบทของคำบุพบท แก่ ในสมัยสุโขทัย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 41 (2). หน้า 273-302. |
8. | วรรณภา สรรพสิทธิ์ และ วิภาส โพธิแพทย์. (2562). “รถเมล์เลยป้าย และ ฝนตกรถเลยติด : ความสัมพันธ์ระหว่างคำว่า “เลย” ที่เป็นคำกริยากับคำเชื่อมอนุพากย์ ในภาษาไทย.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 36 (2). หน้า 1-33. |
9. | พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, วิภาส โพธิแพทย์, ธานีรัตน์ จัตุทะศรี, นพรัฐ เสน่ห์, พงศ์พัฒน์ เมธีธรรมวัฒน์, สิรีมาศ มาศพงศ์, จักรภพ เอี่ยมดะนุช และ พลวัฒน์ ไหลมนู. (2558). “การสำรวจและคัดเลือกตัวบทสำหรับคลังข้อมูลภาษาไทยเชิงประวัติแห่งชาติ.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 32 (2). หน้า 1-41. |
10. | วิภาส โพธิแพทย์. (2557). “กระบวนการเกิดคำใหม่ในภาษาไทย.” ภาษาและภาษาศาสตร์, 32 (2). หน้า 1-24. |
11. | กนกวรรณ วารีเขตต์ และ วิภาส โพธิแพทย์. (2556). “การกลายเป็นคำไวยากรณ์ของคำนาม “ผม”.” วรรณวิทัศน์, 13 (1). หน้า 196-212. |
12. | นพวรรณ เมืองแก้ว และ วิภาส โพธิแพทย์. (2556). ““กรุณา” “หน่อย” : ที่มาของคำแสดงการขอร้อง ในภาษาไทย.” วรรณวิทัศน์, 13 (1). หน้า 95-114. |
13. | สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ และ วิภาส โพธิแพทย์. (2556). “สัมพันธกริยา “เป็น” ในภาษาไทยปัจจุบัน.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 28 (1). หน้า 1-28. |
14. | สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ และ วิภาส โพธิแพทย์. (2555). “การศึกษาคำว่า เป็น ในสมัยรัชกาลที่ 5 เปรียบเทียบกับสมัยปัจจุบัน.” วรรณวิทัศน์, 12 (-). หน้า 92-112. |
1. | Johan van der Auwera, QUAN NGUYEN HAI, VIPAS POTHIPATH, Stefanie Siebenhütter. (2022). "Existential indefinite constructions, in the world and in Mainland Southeast Asia". Journal of Linguistics , 0 (0). Page 1-34. |
2. | Pothipath, V. (2012). " “Global Distribution of Nominal Plural Reduplication”. Typological Studies on Languages in Thailand and Japan. T. Miyamoto, S. Uehara, & K. Thepkanjana (eds.). Sendai, Japan ". Tohoku University Press, 0 ( ). Page 57- 75. |
1. | Choemprayong S, Pittayaporn P, Pothipath V, Jatuthasri T, Kaenmuang J . (2018). Development of Content-Based Metadata Scheme of Classical Poetry in Thai National Historical Corpus. In Maturity and Innovation in Digital Libraries, 20th International Conference on Asia-Pacific Digital Libraries, ICADL 2018 Hamilton, During November 19-22, 2018. D Milena, A Hinze & M Žumer (eds) Swtizerland, Springer,New Zealand. |
Link ที่เกี่ยวข้อง : GS-FROM REG REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น