ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | Ph.D. (Geography) | University Of Victoria Canada | 2537 |
ปริญญาโท | สค.ม. (สิ่งแวดล้อม) | มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย | 2529 |
ปริญญาตรี | วท.บ. (สังคมวิทยา-มนุษย์วิทยา) เกียรตินิยม | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย | 2523 |
1. | Chayan Vaddhanaphuti and Chusak Wittayapak (eds.) . (2011). Revisiting Agrarian Transformation in the Greater Mekong Sub-region: New Challenges. Chiang Mai: Regional Center for Social Science and Sustainable Development (RCSD), Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University. |
2. | Chusak Wittayapak with Peter Vandergeest (eds.). (2010). The Politics of Decentralization: Natural Resource Management in Asia. Chiang Mai: Mekong Press. |
1. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2557). สวัสดิการชุมชนโดยองค์กรชาวบ้าน: บทสังเคราะห์จากกรณีศึกษาในมุมมองของการจัดการสินค้าสาธารณะ สถาบันสังคม และวิถีการดำรงชีพที่ยั่งยืน. . เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (). |
2. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2556). “การพัฒนาการท่องเที่ยวในหลวงพระบาง: โลกใบน้อยของปัญหาการพัฒนาที่เหลื่อมล้ำกันในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง” ใน ยศ สันตสมบัติและคณะ อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงใต้ชะเงื้อมสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (). |
3. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2556). การจ่ายค่าตอบแทนบริการระบบนิเวศ: กรณีศึกษาความเป็นไปได้และจัดทำข้อเสนอแนะในการจัดตั้งกองทุนลุ่มน้ำน่าน. กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP). (รายงานการวิจัยเสนอต่อสำนักงานโครงการทางเลือกการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ). |
4. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2554). การท่องเที่ยวกับการพัฒนา: พินิจหลวงพระบางผ่านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (). |
5. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2554). บทสังเคราะห์โครงการศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนขององค์กรชาวบ้านให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (รายงานการวิจัยเสนอต่อสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนทางวิชาการ 10 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ). |
6. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2553). การท่องเที่ยวกับการพัฒนา: มองผ่านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในหลวงพระบาง สปป.ลาว. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). (รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการท่องเที่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ: แนวคิดสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจกับปัญหาการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน). |
7. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2537). การรับรู้และความตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อมของเมืองเชียงใหม่: การสำรวจในระยะต้นแผน 6. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (รายงานการวิจัยสถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่). |
8. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2531). ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในบริเวณลุ่มน้ำปิงตอนบน: ศึกษากรณีอำเภอแม่แตง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (). |
9. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2531). การประเมินผลด้านเศรษฐกิจและสังคมของการใช้ปุ๋ยหมักในภาคเหนือของประเทศไทย. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (). |
10. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค ร่วมกับ พัฒน์ สุจำนงค์ และสมพงษ์ ชีวสันต์. (2530). ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเจ็บป่วยและการตายของเด็กและทารกชาวกะเหรี่ยงในภาคเหนือของไทย. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (). |
11. | Chusak Wittayapak with Pat Sujamnonk and Somphong Shevasant. (1987). Determinants of Risk Factors Associated with Infant and Child Morbidity and Mortality among the Karen Highlanders of Northern Thailand. Chiang Mai: Social Research Institute, Chiang Mai University. (). |
1. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2548). “ขมุเฮ็ดไฮ่ ไตเฮ็ดนา: ภูมิอัตลักษณ์และประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ในภาคเหนือของประเทศไทย.” สังคมศาสตร์, 17 (1). หน้า 139-172. |
2. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2542). “สังคมศาสตร์กับการศึกษาคนชายขอบ.” สังคมศาสตร์, 11 (1). หน้า 2-25. |
1. | Chusak Wittayapak. (2018). "Communal land titling dilemmas in northern Thailand: From community forestry to beneficial yet risky and uncertain options". Land Use Policy, 71 (-). Page 320-328. |
2. | Chusak Wittayapak. (2008). "History and Geography of Identifications Related to Resource Conflicts and Ethnic Violence in Northern Thailand". Asia Pacific Viewpoint, 49 (1). Page 111-127. |
3. | Chusak Wittayapak. (2004). "Politicization of Politics of the Commons". Mekong Update & Dialogue, 7 (1). Page 4-5. |
4. | Chusak Wittayapak. (2003). "Community Forest in Thailand: A Representation of Power Struggles and New Social Movements". Mekong Update & Dialogue, 6 (2). Page 4-5. |
5. | Chusak Wittayapak. (2003). "Flexible Networking in Research Capacity Building at the National University of Laos: Lessons for North-South Collaboration". Canadian Journal of Development Studies, 42 (1). Page 119-135. |
6. | Chusak Wittayapak. (1999). "Decision-Making Arrangement in Community-Based Watershed Management in Northern Thailand". Society and Natural Resources, 12 (-). Page 673-691. |
7. | Chusak Wittayapak. (1996). "Forestry without Legal Bases: Thailand’s Experience". Common Property Resource Digest, 38 ((June)). Page 7-8. |
1. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2543). วัฒนธรรมชุมชนในฐานะพื้นที่ทางการเมืองในการต่อสู้เพื่อการเข้าถึงทรัพยากรและการสร้างความหมายทางวัฒนธรรม. ในบทความทางวิชาการเสนอในการประชุมวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , จัดโดย- เมื่อวันที่31 มีนาคม, โรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้นอินน์. |
2. | ชูศักดิ์ วิทยาภัค. (2538). หมู่บ้านกับศักยภาพในการจัดการทรัพยากร: กรณีศึกษาการจัดการลุ่มน้ำชุมชนภายใต้ระบบกรรมสิทธิ์ร่วมในภาคเหนือ. ในบทความเสนอในการสัมมนาทางวิชาการเรื่ององค์ความรู้เกี่ยวกับหมู่บ้าน, จัดโดยภาควิชาสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่12-13 พฤษภาคม ณ โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด. |
1. | Chusak Wittayapak. (2011). "Who Are the Farmers: Livelihood Trajectories in a Northern Thai Village". In The 11th International Conference on Thai Studies: Vision for the Future, During 26-28 July, 2011. -, Siam City Hotel, Bangkok, Paper presented on the panel “Restudying Thai Countryside: Methodological Issues and Empirical Findings”. |
2. | Chusak Wittayapak. (2011). "Rural Discontents and Politics of the Underclass in Northern Thailand". In paper presented at the Joint Conference of the Association for Asian Studies and the International Convention of Asian Scholars, During March 31-April 3, 2011. -, Hawaii Convetion Center, Honolulu, Hawaii, USA. |
3. | Chusak Wittayapak. (2010). “Luang Prabang: A Tourist Enclave in Agrarian Landscape of the Greater Mekong Sub-region” . In a paper presented in the International Conference on Revisiting Agrarian Transformations in Southeast Asia: Empirical, Theoretical, and Applied Perspectives, During May 13-15, 2010. -, the Empress Hotel, Chiang Mai, Thailand. |
4. | Chusak Wittayapak. (2008). Is Agrarian Life and Livelihood about Land and Agriculture?. In Paper presented at the 10th International Conference on Thai Studies, During January, 9-11, 2008. -, Thammasat University, Bangkok. |
5. | Chusak Wittayapak. (1999). Community Culture Revisited: Community as a Political Space for Struggles over Natural Resources and Cultural Meaning. In Paper presented at the 7th International Conference on Thai Studies, During July 4-8. -, Amsterdam, The Netherlands. |
6. | Chusak Wittayapak. (1996). Political Ecology of the Expansion of Protected Areas in Northern Thailand. In Paper presented at the 6th International Conference on Thai Studies, During October 14-17. -, Chiang Mai, Thailand. |
7. | Chusak Wittayapak. (1996). Tenure Insecurities in Protected Areas of Thailand. In Paper presented at the 6th annual conference of the International Association for the Study of Common Property, Voices from the Commons, During June 5-8,. -, University of California, Berkeley. |
8. | Chusak Wittayapak. (1995). Local Institutions in Common Property Resources: A Study of Community-Based Watershed Management in Northern Thailand. In Paper presented at the 5th Annual Conference of the International Association for the Study of Common Property, Reinventing the Commons, During May 24-28. -, Bodo, Norway. |
Link ที่เกี่ยวข้อง : GS-FROM REG REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น