ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Social and Policy) The University of New South Wales Australia 2552
ปริญญาโท Master of Public Policy Saitama University Japan 2544
ปริญญาตรี ศลปศาสตร์บัณฑิต (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประเทศไทย 2542
ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (เกียรตินิยม ด) ( ี นโยบายสาธารณะและการบริหาร โครงการ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประเทศไทย 2537
ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย 2534

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ธันยวัฒน์ รัตนสัค และพจนา พิชิตปัจจา. (2557). การแปลงงานวิจัยนโยบายสาธารณะ สู่กรณีศึกษาสําหรับการสอนในระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ได้รับทุนวิจัยจากแผนงานเสริมสร้าง นโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) และสํานักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (เขียนร่วม).
2. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2555). เอกสารคำสอนกระบวนวิชาการบริหารราชการไทย. เชียงใหม่: คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (355 หน้า).
3. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2555). นโยบายสาธารณะ, พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: คนึงนิจการพิมพ์. (347 หน้า).
4. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2546). นโยบายสาธารณะ, พิมพ์ครั้งที่ 1.. เชียงใหม่: คนึงนิจการพิมพ์. (268 หน้า).
5. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2545). การบริหารการพัฒนา. เชียงใหม่: ภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (310 หน้า).
6. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2545). การบริหารการพัฒนา (เล่มที่ 2). เชียงใหม่: ภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (135 หน้า).

3.2 งานวิจัย    
1. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2558). โครงการการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ปี 2558 (Best Practice) กรณีศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมของ ประชาชน องค์การบริหารส่วนตำบลแม่พริก จังหวัดเชยงราย. กรุงเทพฯ: ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย จากสถาบันพระปกเกล้า.. ().
2. ธันยวัฒน์ รัตนสัค และพจนา พิชิตปัจจา. (2556). การแปลงงานวิจัยนโยบายสาธารณะสู่ กรณีศึกษาสําหรับการสอนในระดับอุดมศกษา. กรุงเทพฯ: ได้รับทุนวิจัยจากแผนงานเสริมสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี 3 (นสธ.) และสํานักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (วิจัยร่วม). (ระยะเวลาในการทำวิจัย 1 กุมภาพันธ์ 2556-30 พฤศจิกายน 2556).
3. ธันยวัฒน์ รัตนสัค และพจนา พิชิตปัจจา. (2555). โครงการทบทวนสถานการณ์คอร์รัปชันในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (วิจัยร่วม ). (ระยะเวลาในการจัดทํา กรกฎาคม 2554 – สิงหาคม 2555).
4. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2554). “โครงการศึกษาวิธีปฏิบัตที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการ จัดสวัสดิการสำหรับคนพิการของเทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา อําเภอแม่แตง จังหวัด เชียงใหม่. กรุงเทพฯ: ได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). ().
5. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2553). การปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางานและรูปแบบการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดเชียงใหม่ ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารราชการโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง. เชียงใหม่: งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ().
6. ธันยวัฒน์ รัตนสัค และพจนา พิชิตปัจจา. (2551). ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้คณะ รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะ รัฐศาสตร์และรัฐปรศาสนศาสตร์ (วิจัยร่วม). ().
7. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2547). การประเมินหลักสูตร ภาควิชารัฐศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: ภาควิชารัฐศาสตร์คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.. ().
8. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2547). การประเมินผลความคิดเห็นของประชาชนต่อ องค์กร ปกครองท้องถิ่นในจังหวัดเชยงราย. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ().
9. ธนัน อนุมานราชธน , ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร, ธันยวัฒน์ รัตนสัค และจันทนา สุทธิจารี. (2547). โครงการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนผรู้ับบริการงานที่เป็นภารกิจหลัก ของหน่วยงานระดับกรมในสังกัดกระทรวงแรงงาน. เชียงใหม่: ภาควิชารัฐศาสตร์คณะ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ().
10. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2546). รายงานการติดตามผลการกระจายอํานาจไปสู่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย ปี 2546. เชียงใหม่: ภาควิชารัฐศาสตร์คณะ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ().
11. Thanyawat Rattanasak. (2011). The Study of Policy Concerning Elderly Welfare and Elderly Welfare Administration in Local Administrative Organization in Japan. Japan: The Research Fund Supported by The Komai Fellowship. (The Hitachi Scholarship Foundation.).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2555). “การปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางานและรูปแบบการให้บริการ ของหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดเชียงใหม่ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารราชการโดยมี ประชาชนเป็นศูนย์กลาง.” ศรีปทุมปริทัศน์, 12 (2). หน้า 85-96 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555).
2. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2555). “การศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการจัดสวัสดิการสําหรับคน พิการของเทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา อําเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่..” รัฐศาสตร์และ รัฐประศาสนศาสตร์, 3 (1). หน้า 59-90.
3. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2552). “หลักจริยธรรมในการบรหารจากชาดก.” รัฐศาสตร์และ รัฐประศาสนศาสตร์ฉบับพิเศษประจําปี 2552 รวมบทความคณาจารย์สํานักวิชารัฐประศาสน ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., 0 (พิเศษประจำปี 2552). หน้า (หน้า 224-253).
4. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2550). “ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างพลังอํานาจประชาชน.” รัฐประศาสนศาสตร์, 5 (2). หน้า 13-51. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550).
5. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2548). “การจัดการความเครียด.” รัฐศาสตร์ปริทัศน์, 41 (1). หน้า 191-210.
6. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2548). “บทบาทของสถาบันวิจัยอิสระในการกําหนดนโยบาย สาธารณะ.” รัฐศาสตร์ปริทัศน์, 40 (1). หน้า 135-152. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2548).
7. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2545). “การปฏิรูประบบราชการของญี่ปุ่น.” รัฐศาสตร์ปริทัศน์, 37 (1). หน้า 75-85 , (กรกฎาคม-ธันวาคม).
8. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2541). “ข้าราชการกับนโยบายการปฏิรูประบบราชการ.” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.), 18 (1). หน้า 31-33. (มกราคม-เมษายน).
9. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2541). “ผู้นําทางการเมืองหญิงในเอเชีย.” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.), 18 (3). หน้า 65-73. (กันยายน- ธันวาคม).
10. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2540). “เทคนิคการประสานงาน.” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.), 17 (1). หน้า 85-92. (มกราคม-เมษายน).
11. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2540). “คุณค่าของวิชานโยบายสาธารณะ.” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.), 17 (2). หน้า 88-95. (พฤษภาคม- สิงหาคม).
12. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2539). “การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 1-7 และจุดเน้นในแผนฯ 8.” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.), 16 (3). หน้า 21-32. (กันยายน-ธันวาคม).
13. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2538). “ผู้นําฝ่ายค้าน.” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.), 16 (1). หน้า 90-96. (มกราคม-เมษายน).
14. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2537). “ศาลปกครอง.” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.), 14 (3). หน้า 58-61 ,(มกราคม-เมษายน).

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2560). แนวปฏิบัติที่ดีในการสอนวิชาจริยธรรมสําหรับนักบรหาร. ในบทความเสนอในที่ประชุมเครือข่ายบัณฑิตอุดมคติไทย. , จัดโดยสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่24 มีนาคม 2560.
2. (17) ธันยวัฒน์รัตนสัค. (2553). กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนเพื่อพัฒนาสู่ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาบ้านวังป้อง ตําบลเหมืองแก้ว อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. ในบทความเสนอในที่ประชุมระดับชาติเรื่อง “พลวัตแห่งการเรียนรู้: ภูมิปัญญาไทยสู่นวัตกรรม การศึกษาในกระแสเอเชียภิวัตน์.”, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการความรู้คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่(วันที่ 29-30 เมษายน 2553). (26 หน้า).
3. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2550). บทบาทภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างพลังอํานาจประชาชน. ในบทความเสนอต่อที่ประชุมวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ครั้งที่ 1, จัดโดย- เมื่อวันที่(วันที่ 1 เมษายน 2550). ณ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์.
4. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2548). การพัฒนาไปสู่ความเป็นสถาบันและเครือข่ายนโยบาย กรณีศึกษานโยบายการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าของไทย. ในบทความเสนอในที่ประชุมวิชาการ รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 6, จัดโดย- เมื่อวันที่(วันที่ 7 - 8 ธันวาคม 2548). ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่.
5. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2544). การปฏิรูปการศึกษา: วิเคราะห์ความขัดแย้งในกระบวนการ นโยบาย. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2544)., จัดโดยภาควิชารัฐศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่(28-30 กรกฎาคม) (หน้า 547-570).
6. ธันยวัฒน์รัตนสัค. (2542). การเรียนและการสอนรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ในเอกสารเสนอต่อที่ประชุมและสัมมนาวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัย เรื่อง “การศึกษาและวิจัยทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทยในปัจจุบัน., จัดโดยภาควิชารัฐศาสตร์คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เมื่อวันที่(28-30 กรกฎาคม) (41 หน้า).

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Thanyawat Rattanasak and Sakgasit Ramingwong. (2016). Collaborative Public Management in Peace and Harmony Creation: A Case Study of Mae Prik Sub district Administrative Organization. In Paper Presented at International Conference on Social Science and Management (2016 ICSSAM), , During 10-12 May 2016. Higher Education Forum (HEF), Osaka International Convention Center, Osaka, Japan. PP. 198-208.
2. ธันยวัฒน์ รัตนสัค. (2013). การวิเคราะห์การทุจริตทางการเมืองจากคําที่ใช้อธิบาย สถานการณ์. In บทความเสนอในที่ประชุมวิชาการนานาชาติ ไทยศึกษาในสายลมตะวันออก, During วันที่ 23-24 สิงหาคม 2556. คณะมนุษยศาสตร์คณะนิติศาสตร์คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ณ โรงแรมฟูรามา จังหวัดเชียงใหม่. (17 หน้า).
3. Thanyawat Rattanasak. (2012). Thailand Electricity Supply Industry: Historical Development and Policy. In Paper Presented at Thailand’s First International Conference on Public Management and Public Affairs: Challenges and Prospects in ASEAN and Beyond 2012., During August 30-31, 2012. -, Bangkok, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น