ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Environmental Studies) University of Tasmania Australia 2541
ปริญญาโท Master of Environmental Studies (Environmental Studies) University of Tasmania Australia 2537
ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอก วิทยาศาสตร์สุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2526

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    
1. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2560). ผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน. กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (รายงานการวิจัยระดับชาติ เสนอต่อกรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม).
2. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2537). ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ธรรมชาติในการบำบัดน้ำเสีย : กรณีศึกษาระบบบำบัด น้ำเสียโรงพยาบาล . นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข. (รายงานการวิจัยปีงบประมาณ 2537 กระทรวงสาธารณสุข).
3. Yanyong Intramuong. (2016). GMS Environmental Policy and Practice: A Synthesis Report for Sustainable Development Actions. Bangkok: Asian Development Bank. ().
4. Yanyong Intramuong. (2007). Ecologically Friendly Management in a Small-scale Sufficiency Economy Farmland. Mahasarakham: Mahasarakham University . ().
5. Yanyong Intramuong. (2006). Environmental Science Inquiry: A Better Practicum Approach for Real Life Learning. Bangkok: Thailand Research Fund. ().
6. Yanyong Intramuong. (2006). Songkram Watershed Organization: Analyses on Current Role and Function with Future Prospect. Bangkok: IUCN-Mekong Wetland Program. ().
7. Yanyong Intramuong. (2006). Development of Environmental Management and Practices of Thai Local Governments. Bangkok: Stockholm Environment Institute. ().
8. Yanyong Intramuong. (2004). Roles and Functions of Provincial Health Organizations in Response to the Decentralization Paradigm. Thailand: WHO-Thailand . (WHO-RTG Grant Project).
9. Yanyong Intramuong. (2003). Community Learning Process on Environmental Health Impact Assessment from Water Pollution: A Case Study of Nakorn Na Yok River Thailand. Thailand: Health Systems Research Institute, Ministry of Public Health. ().
10. Yanyong Intramuong. (2001). Thailand Freshwater: A Current Analysis on Future Trends and Development. Copenhagen: Danish Cooperation for Environment and Development. (Research Granted by Danish Cooperation for Environment and Development-DANCED).
11. Yanyong Inmuong. (1996). Biological Methods as a Tool for Water Pollution Monitoring in Thailand. Khon Kaen: Environmental Health Center Region 6. (A Research Report Submitted to WHO Thailand (WHO-RTG Grant Project)).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ดุษฎี อายุวัฒน์, วรัชยา เชื้อจันทึก, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2560). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการก่อนการเกิด ภัยพิบัติอุทกภัยของชุมชนลุ่มนํ้าลำตะคอง.” วารสารราชพฤกษ์, 15 (1). หน้า 11-19.
2. พัชรี ศรีกุตา, อุไรวรรณ อิทร์ม่วง, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2557). “การประเมินความเปราะบางด้านสุขภาพของชุมชนจากอุทกภัยบริเวณ แก่งละว้า จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิจัย มข., 19 (3). หน้า 495-513.
3. วีระ ศิริวรรณ, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2556). “การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในจังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (1). หน้า 191-200.
4. วรินทร มะโนวร, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง, อุไรวรรณ อินทร์ม่วง. (2556). “การประเมินคุณภาพน้ำประปาหมู่บ้าน ตำบลสาวะถี จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (1). หน้า 181-190.
5. อุไรวรรณ อินทร์ม่วง, ภาณี ฤทธิ์มาก, วิภารัตน์ โพธิ์ขี, , ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2556). “ความรู้ และความต้องการพัฒนาศักยภาพด้านการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิจัย มข., 18 (6). หน้า 1034-1048.
6. อัสฉรา นามไธสง, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2555). “ภาวะสุขภาพจิตและสุขภาพสังคม ของชุมชนที่อาศัยอยู่ในโรงงานอุตสาหกรรม อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5 (1). หน้า 101-116.
7. นุจรินทร์ วงศ์อินทร์อยู่, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2555). “การประเมินการรับรู้ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพต้มเกลือสินเธาว์ในพื้นที่ ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร.” วารสารวิจัย มข., 17 (6). หน้า 1012-1027.
8. สิริภัณฑ์กัญญา เรืองไชย, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2554). “ผลกระทบจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบในตำบลลำห้วยหลัว อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์.” วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น, 18 (1). หน้า 48-60.
9. อุไรวรรณ อินทร์ม่วง, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง, ภาณี ฤทธิ์มาก. (2554). “การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนตำบลท่าพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารวิจัย มข., 16 (6). หน้า 716-727.
10. ฆ้องชัย คงดี, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2553). “การเจริญเติบโตของผักคะน้า คุณสมบัติทางเคมีของดิน และแบคทีเรียชอบเค็มในดินเค็มที่ได้รับน้ำหมักชีวภาพต่างชนิดกัน.” วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 29 (3). หน้า 266-273.
11. สุวิชา สุภามา, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2552). “การบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” วารสารประชากรศาสตร์, 25 (1). หน้า 63-82.
12. สมคิด ภูมิโคกรักษ์, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2552). “การประเมินความต้องการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและโครงสร้างระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผนการพัฒนาเชิงพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 28 (1). หน้า 67-75.
13. สมคิด ภูมิโคกรักษ์, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2552). “การพัฒนาและประประเมินการใช้งานใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับการจัดการมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” วารสารเกษมบัณฑิต, 10 (1). หน้า 76-85.
14. เกษณี โคกตาทอง, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง, เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ. (2552). “การประยุกต์ใช้โปรแกรมระบบนิเวศในครรภ์เพื่อเป็นการเสริมสร้างพัฒนาการของทารก.” วารสารสมาคมนักวิจัย, 14 (1). หน้า 76-87.
15. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2551). “การจัดการฟาร์มเกษตรอินทรีย์ชนบทต้นแบบของไทย.” วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , 36 (3). หน้า 214-225 .
16. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2551). “การจัดการฐานทรัพยากรและโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่เอื้อต่อการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาบ้านนาฝาย ตำบลหัวเรือ อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.” วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 27 (1). หน้า 119-129 , Jan.-Mar.
17. ธเนศ แตงสาตร์, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง, มณีรัตน์ องค์วรรณดี. (2551). “การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าชุมชนบ้านโคกประดู่ ตำบลมหาโพธิ อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี.” วารสารวิทยาศาสตร์ มข., 36 (4). หน้า 302-311.
18. อัจฉรา บุปผาพันธ์, พิตร ทองชั้น, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2551). “การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาในท้องถิ่น แบบร่วมมือกันเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 27 (2). หน้า 126-133.
19. สุวิชา สุภามา, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2551). “การบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับมลพิษทางน้ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.” บทบัณฑิตย์, 64 (2). หน้า 87-105.
20. อุไรวรรณ อินทร์ม่วง, ภาณี ฤทธิ์มาก, ดุษฎี อายุวัฒน์, ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2550). “บทบาท หน้าที่ และรูปแบบการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของแรงงานนอกระบบ.” วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 26 (3). หน้า 233-239.
21. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2550). “การจัดการน้ำแบบบูรณาการ: กรอบการวิจัยและพัฒนาสำหรับประเทศไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 26 (1). หน้า 98-110.
22. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง, นฤมล แสงประดับ, วงศ์วิวรรธ ธนูศิลป์. (2546). “การจดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนโดยการตรวจสอบคุณภาพน้ำของชุมชนกุดน้ำใส.” วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 22 (2). หน้า 47-58.
23. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2544). “ระบบเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับชุมชนใกล้แม่น้ำพอง.” วารสารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มกราคม-มิถุนายน, 0 (-). หน้า -.
24. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2544). “ปริมาณโลหะหนักตกค้างในตะกอนท้องน้ำของลำน้ำพอง .” วารสารสาธารณสุขมูลฐาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 16 (4). หน้า , เมษายน-พฤษภาคม 2544.
25. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2541). “ดัชนีชีวภาพสำหรับการจำแนกคุณภาพน้ำทางชีววิทยาในลุ่มน้ำด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง.” วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , 26 (4). หน้า 289-304 .
26. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2540). “การตรวจสอบมลพิษทางน้ำในแม่น้ำแบบใหม่.” วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 20 (1). หน้า , มกราคม-มีนาคม 2540.
27. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2540). “การศึกษาคุณภาพน้ำบึงทุ่งสร้าง .” วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม , 21 (4). หน้า , ตุลาคม-ธันวาคม 2540.
28. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2539). “(2) ผลของการใช้ตัวแปรด้านเคมี กายภาพ และชีววิทยา ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในแม่น้ำ.” วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม , 19 (1). หน้า , มกราคม-เมษายน 2539.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. ยรรยงค์ อินทร์ม่วง. (2551). "การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าชุมชนบ้านโคกประดู่ ตำบลมหาโพธิ์ อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี". วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , 36 (4). Page 302-311 .
2. Yanyong Intramuong. (2016). "Institutional Forces and the Adoption of Green Practices among Small and Medium Sized Hotels in Southern Thailand". Journal of Scientific Research and Development, 3 (5). Page 107‐116.
3. Yanyong Intramuong. (2016). "(45) Effects of Pre-Disaster Management of Flood in Lam Ta Kong Basin on Communities’ Ways of Life". The Social Sciences , 11 (2). Page 164-173.
4. Yanyong Intramuong. (2015). "Vulnerability of Households in Floodes and their Adaptation Measures: Case Study in Northeastern Thailanded Communiti". Asia-Pacific Journal of Public Health, 0 (-). Page 1-13.
5. Yanyong Intramuong. (2014). "Vulnerability Assessment of Flood-Risk Communities at Kaeng Lawa, Khon Kaen". KKU Research Journal, 19 (3). Page 495-513.
6. Yanyong Intramuong. (2011). "Implication of Agriculture Transformation and Farmers’ Mental Health after Adaptation to the Climate Change". KKU Research Journal 2011, 16 (4). Page 398-407.
7. Yanyong Intramuong. (2007). "Public Health Nuisance Surveillance and Remedy System". Journal of Health Promotion and Environmental Health, 30 (1). Page , January-March 2007.
8. Yanyong Intramuong. (2007). "Integrated Water Resource Management: Research and Development Framework for Thailand". Journal of Science and Technology, Mahasarakham University, 26 (1). Page , January-March 2007.
9. Yanyong Intramuong. (2003). "Promoting Healthy Community and Environment through School Actions". Journal of Health Promotion and Environmental Health, 26 (1). Page , January-March 2003 (WHO-RTG Grant Project).
10. Yanyong Intramuong. (1998). "Thailand Water Pollution Crisis: A Case on Massive Fish Deaths in Nam Phong River". Health & Environment, 1 (9 ). Page -, June 1998, Department of Health, Ministry of Public Health Thailand.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Yanyong Intramuong. (2014). Up-Scaling Climate Change Adaptation Practices in Drought Prone Areas of the Young River Basin Thailand. In A Paper Presentation at the 2nd Mekong Climate Change Forum: Adaptation to Climate Change in the Transboundary Context, During 6-8 October 2014. -, Siem Reap, Cambodia.
2. Yanyong Intramuong. (2012). Local Government Planning in Response to Community-Based Climate Change Adaptation. In , A Paper Presentation at the Second Asia-Pacific Climate Change Adaptation Forum, During 12-13 March 2012. -, Bangkok, Thailand.
3. Yanyong Intramuong. (2012). Water Evaluation and Planning System (WEAP): A Tool for Sustainable Water Analysis. In A Paper Presentation at the Second Green Economy Green Growth, GEGG, Forum, During 13-15 November 2012. -, Nay Pyi Taw, Myanmar.
4. Yanyong Intramuong. (2011). HIA: A Mainstreaming Tool for Local Community and Industry to Achieve the Well-Being Goal and Sustainable Growth. In A Paper Presentation at the XI HIA International Conference “In times of Crisis, Healthier Ways”, During 14-15 April 2011. -, Granada, Spain.
5. Yanyong Intramuong. (2010). (33) Agriculture Diversification Adaptation to the Climate Change: A Farm-Scale Livelihood and Health Benefit Implications. In A Paper Presented at the International Conference on Livelihood and Health Impacts of the Climate Change: Community Adaptation Strategies, During 24-25 August 2010. -, Pullman Raja Orchid Hotel, Khon Kaen, Thailand.
6. Yanyong Intramuong. (2007). Public Participation in Environmental Assessment on Community Water Resource Development Project. In A Research Paper Presentation at the IAIA 2007 International Impact Assessment Conference, During 3-9 June 2007. -, Seoul, South Korea.
7. Yanyong Intramuong. (2007). EHIA Capacity Building in Thailand: Lessons to be Learned. In A Research Paper Presentation at the IAIA 2007 International Impact Assessment Conference, During 3 -9 June 2007, Seoul South Korea. -, HIA Capacity Building in Mekong Countries Session.
8. Yanyong Intramuong. (2005). HIA Implication for Water Policy Change in Thailand. In A Research Paper Presented at the IAIA International Conference, During 31 May-3 June 2005. -, Boston, USA.
9. Yanyong Intramuong. (2005). IWRM: Key Approach for Sustainable Water Resources Management in the Mekong. In A Research Paper Presented at the International Forum on Integrated Water Resources Management in Mekong Region, During 28-29 November 2005. -, Chiang Rai, Thailand.
10. Yanyong Intramuong. (2003). Community-based Actions on Assessing Water Pollution and Health Impact. In A Research Paper Presented at the International Conference on Impact Assessment and Capacity Building, During 17-20 June 2003. -, Marrakech, Morocco.
11. Yanyong Intramuong. (2003). Community-based Actions on Sustainable Environment Management Planning: Kudnamsai Water-Quality Monitoring Initiative. In A Research Paper Accepted to Present at the 1st Southeast Asian Water Forum, During 17-21 November 2003. -, Chiang Mai, Thailand.
12. Yanyong Intramuong. (1997). Effects of Headwater Catchment Degradation on Water Quality and Benthic Macroinvertebrate Community In Northeast Thailand. In A Research Paper Presented in the International Symposium on Hydrology and Water Resources for Research and Development in Southeast Asia and the Pacific, During 17-19 December 1997. -, Nong Kai, Thailand.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น