ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Social sciences, Development Studies) University of Bath United Kingdom 2540
ปริญญาโท M.Agr.Sc.(RuralDevelopment, Administration & Management ) University of Queensland Australia 2533
ปริญญาตรี วท.บ. (เกษตรศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเทศไทย 2526

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. อาแว มะแส. (2535). “ลักษณะทางวัฒนธรรมบางประการของชาวไทยมุสลิมกับความเกี่ยวข้องกับงานพัฒนาชนบท”. สงขลา: ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

3.2 งานวิจัย    
1. Masae, A. Nissapa, A. and Boromthanarat, S. (2002). Development, Enforcement and Compliance with Fisheries Regulations : a comparative study between communities under co-management and conventional management in Southern Thailand. Hat Yai: Coastal Resources Institute. (Research Report).
2. Masae, A. Nissapa, A. and Boromthanarat, S. (1999). An Analysis of Co-Management Arrangement: A Case of Fishing Community in Southern Thailand. Hat Yai: Coastal Resources Institute, Prince of Songkla University. (Research Report).
3. Masae, A. (1996). Community Organisation in Fishing Villages in Southern Thailand :The Role of Phu Yai Ban in Local Resource Management. Bath: University of Bath, U.K.. (Ph.D. Thesis).
4. Masae, A. and Rakkheaw , S. (1992). Social Aspects of Artisanal Fisheries and Shrimp Farmingming in Pak Phanang Ba. Hat Yai: Coastal Resources Institute, Prince of Songkla University. (A Research Report Submitted to Asian Fisheries Social Sciences Research Network).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ศิริจิต ทุ่งหว้า, อาแว มะแส และทัศนีย์ เมืองแก้ว. (2546). “วามสัมพันธ์ระหว่างการมี ส่วนร่วมของสมาชิกกับการดําเนินงานของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสงขลา.” วารสารสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 35 (1). หน้า 131-157.
2. ศิริจิต ทุ่งหว้า, อาแว มะแส และ ยุคล เหมบัญฑิต. (2545). “วิวัฒนาการและรูปแบบการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนชาวประมงทะเลน้อย จังหวัด พัทลุง.” วารสารสงขลานครินทร์ (สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์), 8 (2). หน้า 227-243.
3. อยุทธ์ นิสสภา, Noriaki Iuramoto , อาแวมะแส และ Naoyuki IIara. (2544). “การเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมต่อการจัดการร่วมในโครงการปลูกปาล์มน้ํามันในพื้นที่ดินพรุของสมาชิกนิคมสหกรณ์บาเจาะ: จังหวัดนราธิวาส.” วารสารสงขลานครินทร์ (สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์), 7 (1). หน้า 57-75.
4. เก็ตถวา บุญปราการ, วิชัย กาญจนสุวรรณ , สมพร เฟืองจันทร์ และอายเว มะแส. (2542). “การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมขององค์กรพัฒนาเอกชน : กรณีศึกษา สมาคมหยาดฝน จังหวัดตรัง.” วารสารสงขลานครินทร์ (สังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์), 5 (1). หน้า 1-18.
5. เกรียงศักดิ์ ปัทมเรขา, อาแว มะแส, จรวย เพชรรัตน์ และชุมพล พูลศิริ. (2538). “ปัจจัยที่ ส่งผลต่อความแตกต่างในการขายยางแผ่นผ่านตลาดกลางและตลาดท้องถิ่นในจังหวัด ภูเก็ต.” วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์), 16 (1). หน้า 28-42.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. McGregor, J. A., Camfield, C., Masae, A. and Promphakping, B. (2008). "Wellbeing, Development and Social Change in Thailand". Thammasat Economic Journal, 26 (2). Page 1-27.
2. Masae, A. (2006). ""Interactions between Material Resources and cultural Resources in Contributing to Well-being in Rural Tahailand"". Humanities & Social Sciences(KKU), 23 (2). Page 32-57.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. อาแว มะแส, เทพกร ณ สงขลา และอาหามะ ดือราแม. (2549). “การทํากิจกรรมร่วม : เครื่องมือเพื่อสร้างความสมานฉันท์ในระดับชุมชน”. ในรายงานการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในส่วนภูมิภาค ประจําปี 2548 (ภาคใต้), จัดโดย- เมื่อวันที่-, หาดใหญ่,คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ .
2. อาแว มะแส. (2533). "บทบาทสตรีในกิจกรรมเกษตรของครัวเรือนและการตัดสินใจ กรณีศึกษาในสองหมู่บ้านมุสลิมในจังหวัดปัตตานี". ในรายงานการสัมมนาระบบการทําฟาร์ม ครั้งที่ 7, จัดโดย- เมื่อวันที่26-29 มีนาคม 2533, ณ โรงแรมวังใต้ จ.สุราษฎร์ธานี.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Masae, S., Charernjiratragul, S. and Bantito P. (2008). From Traditional Production to Modern Market: A structural-functional analysis of handicraft development for sustainable livelihoods in Khuan Khreng peatlands, Southern Thailand. In Paper for poster presentation presented at the 4th Asian Wetland Symposium, During 22-25 June 2008. -, Hanoi, Vietnam.

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น