ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา Ph.D. (Information Studies) Khon Kaen University ประเทศไทย 2555
ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ M.A. (Library and Information Sciences) Chulalongkorn University ประเทศไทย 2539
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาบรรณารักษศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับสอง B.A. (Library Sciences) Second Honor Khon Kaen University ประเทศไทย 2532

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ศิวนาถ นันทพิชัย. (2555). เอกสารคําสอนเรื่อง การจัดระบบสารสนเทศเบื้องต้น (Introduction to Information Organizing). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
2. ศิวนาถ นันทพิชัย. (2553). เอกสารคําสอนเรื่อง การคนค้ ืนสารสนเทศ (Information Retrieval). พิมพ์ครั้งที่ 3. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
3. ศิวนาถ นันทพิชัย. (2553). เอกสารคําสอนเรื่อง การจัดการสารสนเทศและบริการ (Information Management & Services). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
4. ศิวนาถ นันทพิชัย. (2553). เอกสารประกอบการสอนปฏิบัติการเรื่อง การทํารายการ (Cataloging). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
5. เดชา นันทพิชัย. (2548). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval) พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
6. เดชา นันทพิชัย. (2546). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval) พิมพ์ครั้งที่ 1. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

3.2 งานวิจัย    
1. ปกรณ์ ดิษฐกิจ, ศิวนาถ นันทพิชัย, สุธีระ ทองขาว, จันทร์จิรา รัตนรัตน์และ ภีม ภควเมธาวี. (2558). รายงานการประเมินผลโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ําปากพนังอัน เนื่องมาจากพระราชดําริจังหวัดนครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ. ().
2. ศิวนาถ นันทพิชัย และ ลําปาง แม่นมาตย์. (2555). ระบบการจัดระบบความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 (Knowledge Organization system for Thai Traditional Medicine, Version 1.0). ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (เอกสารอัดสําเนา).
3. ศิวนาถ นันทพิชัย, สัจจารีย์ ศิริชัย, สิริวัจนา แก้วผนึก และ คณิตสรณ์ สุริยะไพบูลย์วัฒนา. (2555). รายงานการประเมินผลหลักสูตรการจัดการสารสนเทศ หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ.2549. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
4. ศิวนาถ นันทพิชัย. (2554). กรอบแนวคิดระบบการจัดระบบความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().
5. เดชา นันทพิชัย, พิภพ ปราบณรงค์, สุธีระ ทองขาว, ธีรพันธ์ จุฬากาญจน์, ระวิวรรณ พุฒทอง, ธิดา แซ่ซั้น และสรายุทธ นาครอด. (2550). รายงานวิจัยเชิงปริมาณ เรื่อง ความพึงพอใจของชุมชนต่อการดําเนินงานโรงงานปูนซีเมนต์ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
6. เดชา นันทพิชัย, พิภพ ปราบณรงค์, สุธีระ ทองขาว, ธีรพันธ์ จุฬากาญจน์, ระวิวรรณ พุฒทอง, ธิดา แซ่ซั้น และสรายุทธ นาครอด. (2549). รายงานการวิจัยโครงการการออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ จ.นครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
7. เดชา นันทพิชัย, พิภพ ปราบณรงค์, ธีรพันธ์ จุฬากาญจน์, ธิดา แซ่ซั้น, สุธีระ ทองขาว, ระวิวรรณ พุฒทอง, ขจรยุทธ อัจจิกุล และสรายุทธ นาครอด. (2548). รายงานวิจัยเชิงปริมาณ เรื่อง การประเมินผลการดําเนินงานกิจกรรมชุมชนของบริษัทผลิตไฟฟ้าขนอม จํากัด อ.ขนอม จ. นครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
8. สถาพร ดิเรกบุษราคม, พิภพ ปราบณรงค์, เดชา นันทพิชัย, สุธีระ ทองขาว, เจนจิรา แก้วรัตน์, ธีรพันธ์ จุฬากาญจน์และสุพัทธ์ ภู่ผกา. (2547). รายงานผลการศึกษาวิจัย โครงการการศึกษาลําดับความสําคัญของปัญหาและความต้องการของประชาชนเพื่อการวิจัยและพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ําปากพนัง กลุ่มนากุ้ง. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
9. เดชา นันทพิชัย, พิภพ ปราบณรงค์, , สุธีระ ทองขาว, ขจรยุทธ อัจจิกุล, ธีรพันธ์ จุฬากาญจน์, ระวิวรรณ พุฒทอง ธิดา แซ่ซั้น และสรายุทธ นาครอด. (2547). รายงานวิจัยเชิงปริมาณเรื่องทัศนคติของชุมชนรายรอบโรงงานปูนซีเมนต์ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
10. พิภพ ปราบณรงค์, เดชา นันทพิชัย, สุธีระ ทองขาว, เจนจิรา แก้วรัตน์, ธีรพันธ์ จุฬากาญจน์และ ชัยยะ ฉัตรเวชศิริ. (2546). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการออกแบบ และพัฒนาระบบฐานข้อมูลการพัฒนาชุมชนและท้องถนเพื่อการบริหารจังหวัดดนครศรีธรรมราช กระบี่ ชุมพร และระนอง : ส่วนที่ 2 ด้านวิถีชีวิตชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน และทักษะความชํานาญของคนในชุมชน. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
11. พิภพ ปราบณรงค์, เดชา นันทพิชัย, เจนจิรา แก้วรัตน์, และอับดุลเลาะห์ เบ็ญนุ้ย. (2545). รายงานการวิจัยโครงการพัฒนาฐานข้อมูลการเลี้ยงกุ้งกุลาดํา โดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์กรณีศึกษาพื้นที่ชายฝั่งอ่าวปากพนัง อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ().
12. เดชา นันทพิชัย. (2539). การรับสารนิเทศด้านวนศาสตร์ชุมชนของเกษตรกรในหมู่บ้านโครงการพัฒนาป่าชุมชน จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ().
13. บัญชร แก้วส่อง และคนอื่น ๆ. (2539). รายงานการวิจัยเชิงปริมาณ เรื่อง การประเมินผลโครงการส่งเสริมเกษตรกรปลูกป่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วิทยา เทวรังษี, ศิวนาถ นันทพิชัย, และ ฐิมาพร เพชรแก้ว. (2558). “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อควบคุมรายการหลักฐานหัวเรื่องสําหรับฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม สถาบันอุดมศึกษาไทย.” วารสารสนเทศศาสตร์, 33 (3). หน้า 30-55.
2. วิทยา เทวรังษี, ฐิมาพร เพชรแก้ว, และ ศิวนาถ นันทพิชัย. (2558). “กรอบแนวคิดสําหรับการตรวจสอบความสัมพันธ์ของหัวเรื่องสําหรับฐานข้อมุลสหบรรณานุกรม สถาบันอุดมศึกษาไทย.” วารสารสนเทศศาสตร์, 33 (2). หน้า 1-33.
3. ศิวนาถ นันทพิชัย, พรพิมล วัชรกุล, และ ณรงค์ทองรักจันทร์. (2557). “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อการควบคุมระเบียนบรรณานุกรม.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 32 (1). หน้า 1-32 .
4. ศิวนาถ นันทพิชัย, ลําปาง แม่นมาตย์, และ ชลภัสส์วงษ์ประเสริฐ. (2557). “การใช้แนวทางการจัดหมวดหมู่แบบแฟซิทในการจัดระบบความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย.” สงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 20 (1). หน้า 113-160.
5. วิทยา เทวรังษี, ศิวนาถ นันทพิชัย, และ ยุทธนา เจริญรื่น. (2557). “การสกัดข้อมูลและสร้างระเบียนรายการหลักฐานจากระเบียนสหบรรณานุกรม.” Pulinet Journal, 1 (1). หน้า .
6. ศิวนาถ นันทพิชัย, สัจจารีย์ ศิริชัย, สิริวัจนา แก้วผนึก, และ คณิตสรณ์ สุริยะไพบูลย์วัฒนา. (2556). “การประเมินหลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สํานักวิชาสารสนเทศ ศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 31 (3). หน้า 49-57.
7. บานเย็น ภัทรเกียรติเจริญ, ลําปาง แม่นมาตย์, และ ศิวนาถ นันทพิชัย. (2556). “การวิเคราะห์ระบบการจัดหมวดหมู่ความรู้ที่มีอยู่ในเอกสารใบลายที่มีอยู่ในปัจจุบัน.” วารสารอักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 35 (2). หน้า 208-232.
8. ภามพิภพพ์ ปุณณพุฒิโมกข์ ศิวนาถ นันทพิชัย และ สลิล บุญพราหมณ์. (2556). “การวิเคราะห์โครงสร้างระเบียนบรรณานุกรมโดยใช้การวิเคราะห์แฟซิท.” วารสารสารสนเทศศาสตร์, 31 (3). หน้า 1-29.
9. เดชา นันทพิชัย. (2548). “แนวคิดและการประยุกต์ระบบสารสนเทศทางสุขภาพ (Health Information System: Concept & Application).” วารสารบรรณารักษศาสตร์ม.ข, 23 (2). หน้า 11-26 .
10. เดชา นันทพิชัย. (2542). “การศึกษาของอังกฤษ: ข้อสังเกตเมื่อแรกเยือน.” วารสารศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (2). หน้า 50-56.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. Nuntapichai, S., Manmart, L., & Vongprasert, C. (2011). Framework of Knowledge Organization System for Thai Traditional Medicine: Research Proposal. ใน Oral Presentation in 3rd Taiwan-Singapore-Thailand Workshop on Library & Information Research, จัดโดยNational Library of Singapore, Singapore เมื่อวันที่17-18 January 2011.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    
1. Nuntapichai, S., & Manmart, L. (2011). Knowledge Organization System Framework for Thai Traditional Medicine. In International Colloquium Digital Library Research, During 12-18 November 2011. Consortium of iSchools – Asis Pacific, CiSAP and National Taiwan University, Taipei .

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น