ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2555
ปริญญาโท ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จารึกภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย 2548
ปริญญาตรี ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช ประเทศไทย 2547
ปริญญาตรี ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย 2544
ปริญญาตรี ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย 2542

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. ยุทธพร นาคสุข. (2561). “หน่วยที่ 2 ภาษาถิ่นเหนือ", เอกสารการสอนชุดวิชา 12411 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย, . นนทบุรี: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2. ยุทธพร นาคสุขและเจษฎา ศรีวัฒนเมธากุล. (2561). “หน่วยที่ 13 กรณีศึกษาภาษาถิ่นและ วรรณกรรมท้องถิ่นไทย", เอกสารการสอนชุดวิชา 12411 ภาษาถิ่นและวรรณกรรม ท้องถิ่นไทย. นนทบุรี: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
3. พระครูสมุห์พนัส ทิพพเมธีและยุทธพร นาคสุข. (2561). ตํานานพระธาตุแช่แห้งฉบับพระญาหน่อคําเสถียรชัยราชสงคราม, . น่าน: อิงค์เบอร์รี่ .
4. ยุทธพร นาคสุข. (2557). "ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจารึกของอาณาจักรศรีเกษตร" ความสัมพันธ์ของภาษาและรัฐโบราณในอาเซียน. . กรุงเทพฯ: ภาควิชา โบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร .
5. ยุทธพร นาคสุข. (2557). “ภาษาพม่าในจารึกและเอกสารโบราณไทย" นานาภาษาในจารึกและเอกสารโบราณไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะ โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร .
6. พระอธิการพนัส ทิพุพเมธี ยุทธพร นาคสุข และพีระพงศ์ มณีรัตน์. (2556). อินทสรวิสุทธยานุสรณ์. เชียงใหม่ : แม็กซ์ปริ้นติ้ง.
7. ยุทธพร นาคสุข. (2556). การศึกษาและปริวรรตจารึก: จารึกที่พบที่อําเภอนาน้อยและอําเภอนาหมื่น . จังหวัดน่าน : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร .
8. พระพนัส ทิพพเมธีและยุทธพร นาคสุข. (2554). ปักขทีน (ปฏิทิน) ล้านนา ปีวงเหม้า จุลศักราช 1373 และปกิณกะล้านนาคดี. เชียงใหม่: แม็กซ์ปริ้นติ้ง .
9. ยุทธพร นาคสุข. (2553). โคลงร้อยกลอน ฉบับวุตโต. เชียงใหม่: ชมรมปักขปืนล้านนา .
10. พระพนัส ทิพุพเมธีและยุทธพร นาคสุข. (2553). สรรพ์สารล้านนา. เชียงใหม่: แม็กซ์ปริ้นติ้ง.
11. ยุทธพร นาคสุข. (2552). ประวัติเรือแข่งเมืองน่าน จากเอกสาร ตํานาน และเรื่องเล่า . เชียงใหม่ : แม็กซ์ปริ้นติ้ง.
12. ยุทธพร นาคสุข. (2552). “การนับเดือนที่ปรากฏในจารึกและเอกสารโบราณของเมืองน่าน” ภาษาจารึก ฉบับที่ 11 (หน้า 351-372). กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาตะวันออกคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
13. พระพนัส ทิพพเมธีและยุทธพร นาคสุข. . (2551). สรรสารล้านนาและปักขปืน (ปฏิทิน) ล้านนา ปีเป๊กใจ้ จ.ศ. 1370. เชียงใหม่: แม็กซ์ปริ้นติ้ง.
14. ยุทธพร นาคสุข. (2550). วงกลองเมืองน่าน : วงกลองคุม วงกลองอีด วงกลองล่องน่าน (มงสี ฟ้อนล่องน่าน) . เชียงใหม่: สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดน่านและสภาวัฒนธรรมจังหวัดน่าน.
15. ยุทธพร นาคสุข. . (2550). พิณและสะล้อเมืองน่าน ดนตรีไทยอุดมศึกษาเทิดไท้ 80 พรรษามหาราชัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง .
16. ยุทธพร นาคสุข, บรรณาธิการ. (2547). คร่าวรับเสด็จพระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นพิชิตปรีชากร. เชียงราย: โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนาร่วมกับเครือข่ายภาษาและวรรณกรรมล้านนา .
17. Yuttaporn Naksuk. . (2005). "The Chieng Mai Chronicle: Kongchun Version". G.E. Gerini and The Mosaic of Genius. -: Faculty of Archaeology .
18. Ampika Rattanapitak . (0). A Collection of Paper on Myanmar Language and Literature. Chiang Mai: Myanmar Center. .

3.2 งานวิจัย    
1. ยุทธพร นาคสุข. (2558). การแปรตามภูมิภาคของภาษาและวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์บางกลุ่มในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ . -: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย . (สกว.).
2. ยุทธพร นาคสุข. (2546). การชําระปฏิทินและหนังสือปีใหม่เมืองล้านนา (ประกาศสงกรานต์). -: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย . (สกว.).

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ธานินทร ลิมปิศิริ และ ยุทธพร นาคสุข . (2566). “หน่วยเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวในภาษาถิ่นพม่า 8 ถิ่น.” Damrong Journal of The Faculty of Archaeology Silpakorn University ดำรงวิชาการ, 2023 (Volume 22, Issue 2). หน้า pp.193-218.
2. ยุทธพร นาคสุข และ นที สาครยุทธเดช . (2566). “ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับชื่อและที่ตั้งของเมืองม่านในจารึกพ่อขุนรามคำแหง.” Humanities and Social Sciences มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 2023 (Volume 40, Issue 3). หน้า pp.135-163.
3. ยุทธพร นาคสุข . (2563). “อักษรธรรมล้านนาที่ประดิษฐ์ขึ้นเพิ่มเติมเพื่อใช้เขียนภาษาสันสกฤต.” Humanities and Social Sciences มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 2020 (Volume 37, Issue 2). หน้า pp.297-344.
4. ปิยาภรณ์ ไชยพันธุ์ และ ยุทธพร นาคสุข . (2563). “การแปรศัพท์ภาษายองจังหวัดลำพูนตามตัวแปรอายุ.” Humanities and Social Sciences มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 2020 (Volume 37, Issue 1). หน้า pp.187-212.
5. ยุทธพร นาคสุข. (2562). “ข้อเสนอในการจัดแผนผังฉันทลักษณ์คร่าวซอ.” Journal of Language, Religion and Culture วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 2019 (Volume 8, Issue 1). หน้า pp.212-240.
6. ธานินทร ลิมปิศิริ ยุทธพร นาคสุข และเอธิกา เอกวารีสกุล. (2561). “ข้อเสนอในการถ่าย ถอดเสียงวรรณยุกต์ภาษาพม่าด้วยเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทย: การศึกษา เปรียบเทียบทางกลสัทศาสตร์ .” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 35 (1). หน้า 117-140.
7. ยุทธพร นาคสุขและสมทรง บุรุษพัฒน์. (2561). “การแปรด้านศัพท์ตามภูมิภาคของภาษาไทยวนในประเทศไทยประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา.” วารสารมนุษยศาสตร์ , 25 (1). หน้า 1-35. 3.2.1.2 .
8. เอธิกา เอกวารีสกุล ยุทธพร นาคสุข และ Qingging Chern. (2560). “"เสียงวรรณยุกต์ใน ภาษาไทยสมัยรัชกาลที่ 5 และปัจจุบัน”.” วารสารภาษา ศาสนา และ วัฒนธรรม, 6 (2). หน้า 51-68. .
9. สมทรง บุรุษพัฒน์ สิริวรรณพิชา ธนจิราวัฒน์ และยุทธพร นาคสุข. (2559). “การจําแนก ภาษากะลอมตามแนวทางภาษาศาสตร์.” วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 35 (2). หน้า 35-56. .
10. ยุทธพร นาคสุข. (2559). “อักษรธรรมล้านนา.” วัฒนธรรม, 55 (2). หน้า 66-72.
11. ยุทธพร นาคสุขช. (2549). “คําพม่าในภาษาและวรรณกรรมล้านนา” .” นิตยสารไทย, 8 (1). หน้า 74-91.
12. ยุทธพร นาคสุข. . (2546). ““การใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิทินหนไทในการศึกษาจารึกและเอกสารโบราณ" .” ภาษาจารึก , 9 (-). หน้า 292-313.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Yuttaporn Naksuk. (2014). "Intha Phonology". Southeast Asia Journal (Center for Southeast Asian Studies, Hunkuk University of Foreign Studies, Korea), , 23 (3). Page -.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     7     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น