ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก อ.ด. (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2545
ปริญญาโท M.A. (Philosophy) เหรียญทอง Delhi University India 2531
ปริญญาตรี พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ประเทศไทย 2527

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ชาติเมธี หงษา, วัชระ งามจิตรเจริญ. (2564). “แนวทางปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา พระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 28 (3). หน้า 1-36.
2. รูปแบบการประยุกต์หลักมงคลชีวิต 38 ประการเพื่อการดำเนินชีวิต ในสังคมไทย. (2562). “รูปแบบการประยุกต์หลักมงคลชีวิต 38 ประการเพื่อการดำเนินชีวิต ในสังคมไทย.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 26 (2). หน้า 1-32.
3. ศุภกาญจน์ วิชานาติ, วัชระ งามจิตรเจริญ, คะนอง ปาลิภัทรางกูร. (2562). “แนวทางการอธิบายคำสอนเรื่องรูปขันธ์ในมิติวิทยาศาสตร์.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 26 (3). หน้า 33-75.
4. ศุภกาญจน์ วิชานาติ, วัชระ งามจิตรเจริญ. (2562). “เปรียบเทียบกำเนิดและพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ระหว่างพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์.” วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 6 (2). หน้า 1-16.
5. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2561). “ศัพท์ภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทยที่ทำให้ชาวพุทธไทยเข้าใจพระพุทธศาสนาผิด.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 25 (1). หน้า 7-22.
6. ศุภกาญจน์ วิชานาติ, วัชระ งามจิตรเจริญ. (2561). “การศึกษาเปรียบเทียบรูปขันธ์กับความจริงทางวิทยาศาสตร์.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 25 (2). หน้า 7-28.
7. อำพล บุดดาสาร, วัชระ งามจิตรเจริญ. (2561). “การประยุกต์หลักมงคล 38 ประการในการดำเนินชีวิตของชาวพุทธในสังคมไทย.” วารสารมหาจุฬาวิชากา, 5 (พิเศษ). หน้า 96-110.
8. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2559). “พระสงฆ์ทำผิดพระวินัยและกฎหมาย : จุดอ่อนและวิธีแก้ไข.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 23 (2). หน้า 9-32.
9. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2557). “สมณศักดิ์ : ข้อดีและปัญหา.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 21 (2). หน้า 11-41.
10. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2554). “พระพุทธศาสนากับฟิสิกส์ใหม่.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 18 (1). หน้า 39-66.
11. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2552). “แนวคิดในการใช้พุทธธรรมเพื่อดำเนินการทางเศรษฐกิจในสังคมทุนนิยม.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 16 (1). หน้า 52-76.
12. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2551). “แนวความคิดเรื่องอันตรภพในพุทธศาสนาเถรวาท.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 8 (17). หน้า 19-56.
13. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2549). “มายาและความเป็นจริงของโลกในคัมภีร์อุปนิษัท.” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 2 (17). หน้า 94-114.
14. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2548). “ความยุติธรรมกับความเกื้อกูลในจริยศาสตร์สตรีนิยม.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 5 (2). หน้า 1-36.
15. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2548). “บทวิพากษ์ปรัชญาภควัทคีตา.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 4 (1). หน้า 32-47.
16. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2545). “มุมมองใหม่ในปรัชญาจวงจื่อ.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2 (2). หน้า 1-16.
17. วัชระ งามจิตรเจริญ. (2544). “อนัตตาและนิพพานในพระไตรปิฎก.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 1 (1). หน้า 93-116.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น