ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph. D. (Philosophy) Magadh University India 2545
ปริญญาโท M.A. (Philosophy) University of Madras India 2540
ปริญญาตรี พธ.บ. (ศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประเทศไทย 2532

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. จรัส ลีกา. (2563). ตรรกศาสตร์เบื้องต้น. วิทยาเขตขอนแก่น: สำนักพิมพ์เอมมี่ก๊อบปี้ปริ้นท. จำนวน 180 หน้า.
2. จรัส ลีกา. (2563). ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ. วิทยาเขตขอนแก่น: สำนักพิมพ์เอมมี่ก๊อบปี้ปริ้นท. จำนวน 204 หน้า.
3. จรัส ลีกา. (2556). หน้าปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. วิทยาเขตขอนแก่น: สำนักพิมพ์เอมมี่ก๊อบปี้ปริ้นท. จำนวน 220 หน้า.

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. พระมนชัย ถาวโร (ยางแวง), จรัส ลีกา และ สุวิน ทองปั้น. (2564). “การวิเคราะห์ความงามสิมไม้ตามทฤษฎีจิตนิยมวัดเจริญทรงธรรม บ้านดอนปอ ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 21 (12). หน้า 1-14.
2. ประกอบ มีโคตรกอง, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การวิเคราะห์ปรัชญาในวรรณกรรมจักกวาฬทีปนี.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 21 (1). หน้า 77-90.
3. เทพวรรณ์ เตียมไธสง, พระครูภาวนาโพธิคุณ และ จรัส ลีกา. (2564). “การศึกวิเคราะห์แนวคิดประโยชน์นิยมในการประกอบธุรกิจ.” Journal of Modern Learning Development, 6 (2). หน้า 1-12.
4. ประธาน คงเรืองราช, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การวิเคราะห์วัตถุนิยมวิภาษวิธีของคาร์ล มาร์กซ.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 6 (9). หน้า 252-263.
5. จรัส ลีกา, พระอธิการยงค์ยุทธ เทวธมฺโม (จันทะอ่อน), พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี (หาญพงษ์) และ ไพโรจน์ บริบูรณ์. (2564). “การพัฒนาจิตด้วยพุทธจริยศาสตร์.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 21 (3). หน้า 301-312.
6. จรัส ลีกา, สุมิตรา ไอยรา และ ดาริกาญจน์ วิชาเดช. (2564). “ศักติ ศักตะ: พลังอำนาจ.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 8 (2). หน้า 185-196.
7. ปิยะนุช มาสิงห์, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การป้องกันการกระทำความผิดซ้ำ EM : เครื่องมือป้องกันการกระทำความผิดซ้ำสำหรับงานคุมประพฤติ.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 8 (2). หน้า 209-218.
8. พระทนงศักดิ์ ครองเมือง, พระครูภาวนาโพธิคุณ, จรัส ลีกา และ หอมหวล บัวระภา. (2564). “ปรัชญาจารวากที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 8 (2). หน้า 165-172.
9. พระครูศีลวัตรประภากร, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, จรัส ลีกา, จิรวรรณ โปรดบำรุง และ พระมหาไพฑูรย์ สิริธมฺโม. (2564). “การเตรียมตัวในวาระสุดท้ายอย่างมีสติ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 101-112.
10. วิชัย อัยรา, พระครู ภาวนาโพธิคุณ, จรัส ลีกา, พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี, พระมหาไพฑูรย์ สิริธมฺโม และ พระยงค์ยุทธ เทวธมฺโม. (2564). “แนวคิดพุทธปรัชญาในการดูแลผู้สูงอายุ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (3). หน้า 90-100.
11. พระครูปริยัติวราภิรม, พระครูภาวนาโพธิคุณ, จรัส ลีกา, หอมหวล บัวระภา และ พระยงค์ยุทธ เทวธมฺโม. (2564). “การวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตามหลักพุทธจริยศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนตำบลสระนกแก้ว อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (3). หน้า 354-366.
12. อานนตรี ประสมสุข, พระครูภาวนาโพธิคุณ, จรัส ลีกา และ อภิญญา สาริพันธ์. (2564). “พุทธธรรมกับการทำงานให้สำเร็จ และมีประสิทธิภาพ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (3). หน้า 52-63.
13. พระยงค์ยุทธ เทวธมฺโม, พระครูภาวนาโพธิคุณ และ จรัส ลีกา. (2564). “การดูแลผู้ป่วยติดเตียงตามหลักพุทธจริยศาสตร์ในตำบลบ้านฝาง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (3). หน้า 378-391.
14. พระครูปลัดรังสรรค์ คุณสาโร (ตุ้มม่วง), พระครูภาวนา โพธิคุณ, จรัส ลีกา, พระมหาประทีป อภิวฑฺฒโน และ พระมหาจิณกมล อภิรตโน (เป็นสุข). (2564). “การศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาในงานศพของชาวพุทธจังหวัดร้อยเอ็ด.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 188-200.
15. รัตนา ทองแจ่ม, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 201-213.
16. ผนึกแก้ว คลังคา, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การพัฒนาโปรแกรมจัดการความเครียดตามหลักพุทธจริยศาสตร์ สำหรับมารดาบิดาผู้ป่วยเด็กระยะวิกฤต โรงพยาบาลขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 214-227.
17. ณิชมน สาริพันธ์, จรัส ลีกา, พระมหาไพรฑูรย์ สิริธมฺโม และ พระมหาจิณกมล อภิรตโน (เป็นสุข). (2564). “โหราศาสตร์กับการดำเนินชีวิต.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 57-68.
18. พระสุกรี ยโสธโร (ประทุมแสง), พระครูภาวนา โพธิคุณ, จรัส ลีกา และ พระมหาประทีป อภิวฑฺฒโน. (2564). “สิทธิมนุษยชนในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 69-83.
19. สุขสมัย น่าบัณฑิตย์, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ และ สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา. (2564). “ปรัชญากฎหมายธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 160-173.
20. พระครูปริยัติวราภิรม ภูมิภาค, จรัส ลีกา, พระมหาปพน แสงย้อย, พระมหาจรูญ ฤทธิทิศ และ หอมหวล บัวระภา. (2564). “ความสัมพันธ์ระหว่างกายและจิต.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 84-94.
21. พระธีรพงศ์ ธีรปญฺโญ, จรัส ลีกา, พระมหาประทีป อภิวฑฺฒโน และ พระมหาจิณกมล อภิรตโน (เป็นสุข). (2564). “การรักษาป่าชุมชนด้วยแนวคิดผี พราหมณ์ พุทธ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 107-118.
22. พระอนุ น้อยกลาง, ณรงค์ฤทธิ์ เครือไทย, จรัส ลีกา และ พระยงค์ยุทธ เทวธมฺโม. (2564). “พุทธจริยศาสตร์กับการพัฒนาตนเอง.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 119-126.
23. พระมหาจิณกมล อภิรตโน, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, จรัส ลีกา และ พระยงค์ยุทธ เทวธมฺโม. (2564). “การวิเคราะห์หลักจริยศาสตร์ในวรรณกรรมรามเกียรติ์.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 253-263.
24. วิชัย อัยรา, จรัส ลีกา, สุวิน ทองปั้น, ลักขณา อินทร์บึง, พระมหาไพรฑูรย์ สิริธมฺโม และ พระยงค์ยุทธ เทวธมฺโม. (2564). “การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ความเป็นชุมชนนวัตวิถี ของโรงเรียนผู้สูงอายุ ตำบลหนองกุงธนสาร อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (4). หน้า 174-187.
25. สุรพันธ์ สุวรรณศรี, จรัส ลีกา, เอี่ยม อามาตย์มุลตรี และ สุริยา นทีศิริกุล. (2564). “เทียนพรรษา : ศิลปะทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (1). หน้า 37-48.
26. พระมหาจรูญ กิตฺติปญฺโญ และ จรัส ลีกา. (2564). “การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนในยุคไทยแลนด์ 4.0 : กรณีศึกษาชุมชนเข้มแข็งองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (1). หน้า 189-201.
27. พระธรรมสิทธิ์ โชติธมฺโม (พานิชศิริ) และ สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา. (2564). “การศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาชีวิตของคนอีสานจากประติมากรรมปูนปั้นวัดโพธิ์ บ้านโนนทัน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (1). หน้า 161-171.
28. สุทิน ไชยวัฒน์, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, จรัส ลีกา, ธวัช ทะเพชร และ สุวิน ทองปั้น. (2564). “การวิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์เพื่อการครองเรือน กับกฎหมายการฟ้องหย่า.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (1). หน้า 138-151.
29. พระภัทรโภคิน ฐิตสาโร (พรมโคตร), ประยงค์ แสนบุราณ, จรัส ลีกา, สุวิน ทองปั้น และ อัษฎานิษฐ์ โคตรชัย. (2564). “การวิเคราะห์บุญข้าวสากในเชิงพุทธจริยศาสตร์ ของชุมชนบ้านโคกเล้า ตำบลบะยาว อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (3). หน้า 299-309.
30. ณัฐชยา จิตภักดี, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การพัฒนามนุษย์ตามหลักพุทธจริยศาสตร์.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 208-219.
31. สุขสมัย น่าบัณฑิตย์, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “กฎหมายบุหรี่กับวิถีแห่งพุทธ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 68-80.
32. เอกบุญญาวรรณ พลอยพรรณณา, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การวิเคราะห์หลักอัตถิภาวนิยมในพระพุทธศาสนา.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 220-231.
33. พระมหาอรรถพงษ์ สิริโสภโณ, พระครูภาวนาโพธิคุณ และ จรัส ลีกา. (2564). “การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์ตามแนวพุทธจริยศาสตร์ ในตำบลท่าสองคอน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 274-285.
34. พระมหาประกอบ กิตฺติญาโณ (อิ่มจิตร) และ จรัส ลีกา. (2564). “การพัฒนาสังคมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 40-52.
35. พระอัจฉริยะ อรุโณ (ปัญโย) และ จรัส ลีกา. (2564). “การวิเคราะห์อภิมนุษย์ในทัศนะพุทธปรัชญาและนิตเช่.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 53-67.
36. สุทิน ไชยวัฒน์, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2564). “การครองเรือนตามหลักมรรคมีองค์ 8.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8 (2). หน้า 91-101.
37. พระครู วิจิตรธรรมาทร, จรัส ลีกา, พระมหาใจสิงห์ สิริธมฺโม, พระนรินทร์ สีลเตโช และ พระอ่อน มหิทฺธิโก. (2563). “การวิเคราะห์ความรักในมัทรีกัณฑ์.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 20 (4). หน้า 173-184.
38. พระมหาวีรศักดิ์ อภินนฺทเวที, นิเทศ สนั่นนารี, เรียงดาว ทวะชาลี, ชยันต์ บุญพิโย, จรัส ลีกา และ มาริสา ไสวงาม. (2563). “การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาชุมชน ของวัดและชุมชนในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8 (2). หน้า 388 - 404.
39. พระจตุรงค์ จตุราภินนฺโท, สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา, พระครูภาวนา โพธิคุณ, หอมหวล บัวระภา, อุทัย กมลศิลป์ และ สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “พุทธจริยศาสตร์ในภาพจิตรกรรมฝาผนังศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์ บ้านโนนทัน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7 (1). หน้า 225-239.
40. พระสุกฤษฎิ์ ภทฺทรเมธี (มาระศรี), จรัส ลีกา, พระครูภาวนา โพธิคุณ, สุวิน ทองปั้น, หอมหวล บัวระภา, อุทัย กมลศิลป์ และ สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “การวิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์ที่ปรากฏในธัมมจักกัปปวัตนสูตร.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7 (1). หน้า 268-279.
41. พระสุกรี ยโสธโร, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, จรัส ลีกา, อุทัย กมลศิลป์ และ สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “การศึกษาวิเคราะห์จริยธรรมของตัวละครในวรรณกรรมพระเวสสันดรชาดก.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 7 (1). หน้า 1-13.
42. พระอธิการภัคพงศ์ สิริธมฺโม (พรหมศิริพงศ์), จรัส ลีกา, สุวิน ทองปั้น, อุทัย กมลศิลป์ และ สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “การวิเคราะห์ประเพณีบุญเดือนสิบในเชิงปรัชญาของชาวบ้านเดื่อ ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 7 (1). หน้า 15-25.
43. พระมหากอบกฤต โสภณปัญโญ, จรัส ลีกา, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, อุทัย กมลศิลป์ และ สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “การศึกษาเหตุและผลของกรรมในเรื่องนางสามาวดี.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 7 (1). หน้า 117-126.
44. พระประสิทธิ์ ขนฺติวณฺโณ, สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา, อุทัย กมลศิลป์ และ สุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). “การพัฒนาพฤติกรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ โรงเรียนเทศบาลบ้านกิโลสอง เทศบาลเมืองอรัญญประเทศ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 7 (1). หน้า 73-84.
45. พระมหาธนินทร์ นราสโภ (มาสุ่ม), จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, จรัส ลีกา, พระนรินทร์ สีลเตโช และ พระมหาใจสิงห์ สิริธมฺโม. (2563). “การวิเคราะห์แนวคิดเรื่องจิตว่างของฮวงโป.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7 (1). หน้า 187-196.
46. พระมหาใจสิงห์ สิริธมฺโม (เถื่อนศรี), จรัส ลีกา, สุวิน ทองปั้น, พระมหาสากล สุภรเมธี และ พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. (2563). “การพิสูจน์ความมีอยู่ของพญาแถนในสังคมล้านช้าง.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 7 (1). หน้า 197-211.
47. ธัญญพัทธ์ สวนดง และ จรัส ลีกา. (2562). “พุทธปรัชญาในการดำเนินธุรกิจแบบยั่งยืน.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (1). หน้า 333-344.
48. พระนรินทร์ สีลเตโช และ จรัส ลีกา. (2562). “พระเจ้าในภาษาธรรมของพุทธบริษัท.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (2). หน้า 303-308.
49. พระมหาไพฑูรย์ สิริธมฺโม (ชัยกุง), จรัส ลีกา และ ปัญญา ศาสตรา. (2562). “วิเคราะห์พรต 5 ในปรัชญาเชน.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (1). หน้า 13-23.
50. จรัส ลีกา, พระนรินทร์ สาไชยันต์, พระอ่อน ระหุ่ง, พระมหาวันดี ปะวะเส, พระมหาใจสิงห์ เถื่อนศรี และ สุพจน์ แก้วไพฑูรย์. (2562). “พุทธจริยศาสตร์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนในจังหวัดขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (1). หน้า 73-85.
51. ปัญญา ศาสตรา, จรัส ลีกา, อุดม บัวศร๊, สุวิน ทองปั้น, พระนรินทร์ สีลเตโช และ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว. (2562). “การศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาชีวิต นายแสวง มะโนลัย ปราชญ์ชาวบ้านแห่งทุ่งกุลาร้องไห้.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (2). หน้า 384-399.
52. พระนรินทร์ สีลเตโช และ จรัส ลีกา. (2562). “การตีความแนวคิดเรื่องพรหมในพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (2). หน้า 340-409.
53. พระครูวิจิตรธรรมาทร เรียน ติสฺสวํโส, สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา และ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว. (2562). “การสังเคราะห์แนวคิดภพภูมิในพระไตรปิฎกที่ปรากฏในไตรภูมิพระร่วง.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (4). หน้า 427-438.
54. ณัชชา เพียงพอ, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2562). “การจัดการความขัดแย้งในระบบสาธารณสุขไทยในทัศนะพุทธปรัชญา.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (4). หน้า 297-311.
55. อุทัย กมลศิลป์, จรัส ลีกา และ สุวิน ทองปั้น. (2562). “การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดพุทธจริยศาสตร์กับการลงโทษประหารชีวิต.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (4). หน้า 312-327.
56. จีราภรณ์ จันทร์โฉม, สุวิน ทองปั้น, อัจฉริยะ วงษ์คำซาว และ จรัส ลีกา. (2562). “แนวคิดผีฟ้าในเชิงปรัชญาของชุมชนบ้านนาเสียว ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (4). หน้า 328-340.
57. พระครูกิตติโชติกุล กิตติปาโล (ปะละกัง), จรัส ลีกา, สุวิน ทองปั้น, นิเทศ สนั่นนารี และ วิเชียร แสนมี. (2562). “พุทธจริยศาสตร์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนในอำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (4). หน้า 341-354.
58. พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี (หาญพงษ์), สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2562). “การวิเคราะห์ความงามผ้าไหมนครชัยบุรินทร์ ตามทฤษฎีวัตถุวิสัย.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (1). หน้า 223-235.
59. ธัญญพัทธ์ สวนดง, จรัส ลีกา และ สุวิน ทองปั้น. (2562). “การสังเคราะห์ทฤษฎีจริยศาสตร์เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการประกอบธุรกิจโรงแรม.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (1). หน้า 289-299.
60. พระครูปลัดสุวัฒนพุทธคุณ จนฺทาโภ, ชัยรัตน์ ทองสุข, ศิรธิรางค์ สังสหชาต, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2562). “พุทธจริยศาสตร์เพื่อความสุขในสังคม.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (2). หน้า 1-13.
61. พระมหาปพน กตสาโร (แสงย้อย), จรัส ลีกา, สุวิน ทองปั้น และ พระมหาจรูญ ฤทธิทิศ. (2562). “การวิเคราะห์อภิปรัชญาที่ปรากฏในสารัตถะแห่งคัมภีร์มิลินทปัญหา.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (2). หน้า 299-311.
62. พระนราศักดิ์ วรธมฺโม, วิโรจน์ วิชัย, สมหวัง แก้วสุฟอง และ สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา. (2562). “สันติภาพบนทางสามแพร่ง.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (2). หน้า 56-68.
63. พระมหาไพฑูรย์ สิริธมฺโม, พระครูภาวนาโพธิคุณ, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, จรัส ลีกา และ หอมหวล บัวระภา. (2562). “การวิเคราะห์แนวคิดเรื่องขันธ์ 5 ในเชิงอภิปรัชญา.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (2). หน้า 208-221.
64. พระมหาวิโรฒ ปภาโส (มณีวงษ์), จรัส ลีกา, อุดม บัวศร๊, สุวิน ทองปั้น และ สาคร พรหมโคตร. (2562). “การวิเคราะห์วัฒนธรรมและจริยธรรมในการบูชาหลวงปู่มีชัย.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (1). หน้า 169-180.
65. ปัญญา ศาสตรา, จรัส ลีกา, พระสมบัตร ฐิตญาโณ, พระมหาอรรถพงษ์ ศรีระวงษ์, พระนรินทร์ สีลเตโช และ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว. (2562). “การศึกษาวิเคราะห์ศีล 5 ในทัศนะพุทธจริยศาสตร์.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6 (4). หน้า 30-46.
66. พระวันดี กนฺตวีโร (ปะวะเส), จรัส ลีกา และ สุวิน ทองปั้น. (2561). “การศึกษาวิเคราะห์อภิปรัชญาในคัมภีร์ภควัทคีตา.” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์, 6 (2 พิเศษ). หน้า 163-174.
67. พระวันดี กนฺตวีโร (ปะวะเส), จรัส ลีกา, พระสมบัตร ฐิตญาโณ และ ปัญญา ศาสตรา. (2561). “การวิเคราะห์ทัศนะอภิปรัชญาในปรัชญาโยคะ.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 18 (3). หน้า 105-112.
68. พลเผ่า เพ็งวิภาศ, สุวิน ทองปั้น และ จรัส ลีกา. (2561). “การวิเคราะห์บทบาทของภิกษุณีในพระพุทธศาสนา.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 18 (3). หน้า 127-136.
69. จิรวรรณ โปรดบำรุง, สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา, ประจิตร มหาหิง และ นิเทศ สนั่นนารี. (2561). “การทำกายภาพบำบัดด้วยการใช้กรุณาเป็นฐานในการรักษาฟื้นฟูผู้ป่วย: กรณีศึกษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 18 (2). หน้า 33-42.
70. นิเทศ สนั่นนารี, จรัส ลีกา, สาริกา ไสวงาม และ ภัทรวดี ทองนึก. (2561). “การสื่อสารเชิงพุทธเพื่อสร้างความปรองดองในสังคม.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5 (1). หน้า 159-178.
71. ชานิณี ยศพันธ์, สุวิน ทองปั้น, จรัส ลีกา และ อดุลย์ หลานวงษ์. (2561). “คิดเป็น กินเป็น ใช้เป็น เก็บเป็นตามหลักโภควิภาค.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5 (1). หน้า 46-56.
72. พระครูกิตติโชติคุณ, จรัส ลีกา, พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ปัญญา ศาสตรา และ ธีรภัทร โคตรบรรเทา. (2561). “ศีลในฐานะเครื่องมือพัฒนามนุษย์.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5 (2). หน้า 44-54.
73. พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี (หาญพงษ์) และ จรัส ลีกา. (2561). “ความงามของสตรีในพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5 (2). หน้า 55-64.
74. วันวิสาข์ วรรณพิพัฒน์, พันธวุธ จันทรมงคล, อรวรรณ ปริวัตร และ จรัส ลีกา. (2561). “กรอบแนวคิดการออกแบบสำหรับแนวทางการพัฒนาการออกแบบเว็บไซต์ภาคภาษาอังกฤษสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5 (2). หน้า 188-198.
75. พระนรินทร์ สีลเตโช, จรัส ลีกา, พระสมบัตร ฐิตญาโณ และ ปัญญา ศาสตรา. (2561). “หน้าที่ของมารดาบิดาในทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 18 (3 พิเศษ). หน้า 383-392.
76. พระมหาใจสิงห์ สิริธมฺโม, จรัส ลีกา และ อุดม บัวศร๊. (2561). “ความมีอยู่ของเทพในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 18 (3 พิเศษ). หน้า 393-404.
77. เอกบุญญาวรรณ พลอยพรรณณา และ จรัส ลีกา. (2560). “การศึกษาวิเคราะห์เมตตาธรรมในพระไตรปิฎก.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 17 (2). หน้า 241-256.
78. จรัส ลีกา, นิเทศ สนั่นนารี, พระมหาธนกร กตปุญฺโญ, เอกฉัท จารุเมธีชน, ธีรภัทร โคตรบรรเทา และ ทศพร พรหมเทศ. (2560). “รูปแบบและกระบวนการสร้างความเข้มแข็งของบ้าน วัด โรงเรียน ในการจัดการปัญหายาเสพติดแนวพุทธของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 17 (2). หน้า 29-35.
79. พระวันดี กนฺตวีโร, จรัส ลีกา, พระครูสุตธรรมาภรณ์ และ ภูษิต ปุลันรัมย์. (2560). “เจตนาดีกับหน้าที่ในชูชกกัณฑ์ ตามทัศนะของอิมมานูเอล ค้านท์.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 17 (2). หน้า 163-172.
80. พระวิริยะศักดิ์ สมจิตฺโต, จรัส ลีกา และ จำนง กมลศิลป์. (2560). “แนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ในวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำ.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 4 (2). หน้า 169-180.
81. จิรวรรณ โปรดบำรุง, จรัส ลีกา และ สุวิน ทองปั้น. (2559). “การดูแลผู้สูงอายุตามหลักพุทธจริยศาสตร์.” พุทธชินราชเวชสาร, 33 (2). หน้า 233-240.
82. จรัส ลีกา. (2558). “แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ป่าชุมชน : กรณีศึกษาวัดป่าบ้านหนองกุงธนสาร ตำบลหนองกุงธนสาร อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น.” วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 2 (1). หน้า 17-26.
83. จรัส ลีกา. (2557). “แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในการป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ของเด็ก และเยาวชนในเขตอำเภอเมือง จ.ขอนแก่น.” วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 14 (1). หน้า 35-43.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น