ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2552
ปริญญาโท ศศ.บ.(ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย 2547
ปริญญาตรี อ.บ.(ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย 2543

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ชญานิน บุญส่งศักดิ์, ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน และสุขาด เจียพงษ์. (2566). “กลวิธีการใช้ภาษาไทยในการแสดงความไม่พอใจของนักศึกษาไทย : การศึกษาตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (4). หน้า 475-489.
2. ปิยมาศ มาวงศ์, ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน, สนม ครุฑเมือง. (2566). “ภูมิศาสตร์คำศัพท์และคำเรียกพืชสมุนไพรในจังหวัดเชียงราย.” วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 8 (1). หน้า 165-180.
3. ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน และสนิท สัตโยภาส. (2565). “มโนทัศน์“สตรี”ในวรรณกรรมจีนสมัย ค.ศ.1912 – ปัจจุบัน.” วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 41 (1). หน้า 67-86.
4. สุรธอม พาแก้ว, บุญเหลือ ใจมโน, ขนิษฐา ใจมโน. (2565). “วรรณกรรมเพลงของจังหวัดเพชรบูรณ์ประเทศไทยและวรรณกรรมเพลงแขวงเวียงจันทน์ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว:การศึกษาภาพสะท้อนทางสังคม.” วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 7 (2). หน้า 52-64.
5. ขนิษฐา ใจมโน, อรทัย สุขจ๊ะ, สนม ครุฑเมือง และบุญเหลือ ใจมโน. (2564). “วรรณกรรมเพลงกล่อมเด็กจังหวัดลำปาง : การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงและความคงอยู่.” วารสารวิจัยทางภาษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16 (1). หน้า 150-163.
6. ขนิษฐา ใจมโน, นิตยา มูลปินใจ, ฤทัย พานิช และศรีวิไล พลมณี. (2564). “วัจนกรรมคำลงท้ายในภาษาถิ่นเหนือตามปัจจัยทางเพศ.” วารสารวิจัยทางภาษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16 (1). หน้า 164-177.
7. นัฐกานต์ ปุดสวย และขนิษฐา ใจมโน. (2564). “พลังชีวิตภาษาปกาเกอะญอในชุมชนบ้านกลาง ตำบลบ้านดง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง.” มังรายสาร, 9 (1). หน้า 49-64.
8. ขนิษฐา ใจมโน และวิไลวรรณ เข้มขัน. (2563). “การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคำศัพท์โบราณจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2493 – ปี พ.ศ. 2554.” วารสารวิชาการ มจร.บุรีรัมย์ วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 5 (1). หน้า 163-176.
9. ขนิษฐา ใจมโน. (2562). “การสังเคราะห์และแนวโน้มการวิจัยด้านภาษาศาสตร์สังคม.” มังรายสาร, 7 (1). หน้า 67-86.
10. ขนิษฐา ใจมโน, สุณัฐชา กันทา และจิราภรณ์ น้อยฉิ่ม. (2562). “ศึกษาคำเรียกชื่อผักพื้นบ้านในภาษาไทใหญ่ บ้านเมืองปอน ตำบลเมืองปอน อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน.” วารสารมังรายสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 7 (1). หน้า 91-105.
11. ขนิษฐา ใจมโน, ศิริวรรณ ประสพสุข, และทัศนาลัย บูรพาชีพ. (2561). “การศึกษาองค์ประกอบด้าน ความหมายของคำลักษณนามที่ใช้กับส่วนต่างๆของพืชในภาษาเขมร : ปัจจัยด้านการศึกษา.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9 (1). หน้า 333-349.
12. ศิริวรรณ ประสพสุข, ทัศนาลัย บูรพาชีพ และ ขนิษฐา ใจมโน. (2560). “การศึกษาองค์ประกอบด้าน ความหมายของคำลักษณนาม .” รมยสาร, 15 (3). หน้า 117-125.
13. อาทิตยา ทองแสน, ขนิษฐา ใจมโน และ พุทธชาติ โปธิบาล. (2557). “การศึกษาการเรียบเรียงความคิด และการเชื่อมโยงความจากการเขียนเรียงความของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.” วารสารสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ, 3 (1). หน้า 65-78.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Kanita Chaimano. (2009). "Tonal Variation in the Lue Dialects of Thailand". Manusya: Journal of Humanities, 12 (3). Page 1-19.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น