ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) | มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย | 2552 |
ปริญญาโท | ศศ.บ.(ภาษาไทย) | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย | 2547 |
ปริญญาตรี | อ.บ.(ภาษาไทย) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย | 2543 |
1. | ชญานิน บุญส่งศักดิ์, ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน และสุขาด เจียพงษ์. (2566). “กลวิธีการใช้ภาษาไทยในการแสดงความไม่พอใจของนักศึกษาไทย : การศึกษาตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์.” Journal of Roi Kaensarn Academi, 8 (4). หน้า 475-489. |
2. | ปิยมาศ มาวงศ์, ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน, สนม ครุฑเมือง. (2566). “ภูมิศาสตร์คำศัพท์และคำเรียกพืชสมุนไพรในจังหวัดเชียงราย.” วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 8 (1). หน้า 165-180. |
3. | ขนิษฐา ใจมโน, บุญเหลือ ใจมโน และสนิท สัตโยภาส. (2565). “มโนทัศน์“สตรี”ในวรรณกรรมจีนสมัย ค.ศ.1912 – ปัจจุบัน.” วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 41 (1). หน้า 67-86. |
4. | สุรธอม พาแก้ว, บุญเหลือ ใจมโน, ขนิษฐา ใจมโน. (2565). “วรรณกรรมเพลงของจังหวัดเพชรบูรณ์ประเทศไทยและวรรณกรรมเพลงแขวงเวียงจันทน์ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว:การศึกษาภาพสะท้อนทางสังคม.” วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 7 (2). หน้า 52-64. |
5. | ขนิษฐา ใจมโน, อรทัย สุขจ๊ะ, สนม ครุฑเมือง และบุญเหลือ ใจมโน. (2564). “วรรณกรรมเพลงกล่อมเด็กจังหวัดลำปาง : การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงและความคงอยู่.” วารสารวิจัยทางภาษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16 (1). หน้า 150-163. |
6. | ขนิษฐา ใจมโน, นิตยา มูลปินใจ, ฤทัย พานิช และศรีวิไล พลมณี. (2564). “วัจนกรรมคำลงท้ายในภาษาถิ่นเหนือตามปัจจัยทางเพศ.” วารสารวิจัยทางภาษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16 (1). หน้า 164-177. |
7. | นัฐกานต์ ปุดสวย และขนิษฐา ใจมโน. (2564). “พลังชีวิตภาษาปกาเกอะญอในชุมชนบ้านกลาง ตำบลบ้านดง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง.” มังรายสาร, 9 (1). หน้า 49-64. |
8. | ขนิษฐา ใจมโน และวิไลวรรณ เข้มขัน. (2563). “การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคำศัพท์โบราณจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2493 – ปี พ.ศ. 2554.” วารสารวิชาการ มจร.บุรีรัมย์ วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 5 (1). หน้า 163-176. |
9. | ขนิษฐา ใจมโน. (2562). “การสังเคราะห์และแนวโน้มการวิจัยด้านภาษาศาสตร์สังคม.” มังรายสาร, 7 (1). หน้า 67-86. |
10. | ขนิษฐา ใจมโน, สุณัฐชา กันทา และจิราภรณ์ น้อยฉิ่ม. (2562). “ศึกษาคำเรียกชื่อผักพื้นบ้านในภาษาไทใหญ่ บ้านเมืองปอน ตำบลเมืองปอน อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน.” วารสารมังรายสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 7 (1). หน้า 91-105. |
11. | ขนิษฐา ใจมโน, ศิริวรรณ ประสพสุข, และทัศนาลัย บูรพาชีพ. (2561). “การศึกษาองค์ประกอบด้าน ความหมายของคำลักษณนามที่ใช้กับส่วนต่างๆของพืชในภาษาเขมร : ปัจจัยด้านการศึกษา.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9 (1). หน้า 333-349. |
12. | ศิริวรรณ ประสพสุข, ทัศนาลัย บูรพาชีพ และ ขนิษฐา ใจมโน. (2560). “การศึกษาองค์ประกอบด้าน ความหมายของคำลักษณนาม .” รมยสาร, 15 (3). หน้า 117-125. |
13. | อาทิตยา ทองแสน, ขนิษฐา ใจมโน และ พุทธชาติ โปธิบาล. (2557). “การศึกษาการเรียบเรียงความคิด และการเชื่อมโยงความจากการเขียนเรียงความของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.” วารสารสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ, 3 (1). หน้า 65-78. |
1. | Kanita Chaimano. (2009). "Tonal Variation in the Lue Dialects of Thailand". Manusya: Journal of Humanities, 12 (3). Page 1-19. |
Link ที่เกี่ยวข้อง : GS-FROM REG REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น