ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. in Anthropology The Australian National University, Canberra Australia 2006
ปริญญาโท M.A. in Sociology Thammasat University Thailand 1998
ปริญญาตรี B.Sc. in Sociology and Anthropology Chiang Mai University Thailand 1994

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    
1. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2562). มานุษยวิทยา ล้านนาคดี. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาเชียงใหม่ สนับสนุนโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (พิมพ์ครั้งที่ 2). 258 หน้า.
2. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2562). มานุษยวิทยา – ล้านนาคดี. เชียงใหม่: หนังสือภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วนิดาการพิมพ์ 256 หน้า.
3. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2562). ฟุตบอลสมัยใหม่ จากเกมของชาวนาสู่กีฬาแห่งชนชั้น และชุมชนของแรงปรารถนา บรรณาธิการ และหนังสือบางบท So-Anthro Book Series No. 4 ร่าง แรง อารมณ์ความรู้สึก ในสังคมร่วมสมัย. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วนิดาการพิมพ์.
4. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2561). วัฒนธรรมศึกษาเบื้องต้น. เชียงใหม: วนิดาการพิมพ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
5. วสันต์ ปัญญาแก้ว และชัยพงษ์ สำเนียง. (บก.). (2561). รำลึก 140 ปี ชาตกาล ครูบาศรีวิชัย. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับภาควิชาสังคมวิทยาฯ มช และมูลนิธิสถาบันครูบาเจ้าศรีวิชัย.
6. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2559). “พัฒนาการของศาสตร์สังคมวิทยา” ในความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 5-27.
7. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2559). “สื่อและชีวิตประจำวันในโลกสมัยใหม่” ในโลกสมัยใหม่ในชีวิตประจำวัน. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 141-158.
8. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2559). ดนตรีชาติพันธุ์และการพัฒนาในเขตวัฒนธรรมล้านนา. เชียงใหม่: โครงการล้านนาคดีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 164 หน้า.
9. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2559). โลกสมัยใหม่ในชีวิตประจำวัน. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 192 หน้า.
10. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2559). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 180 หน้า.
11. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2559). ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก: ผู้หญิง อำนาจ วัฒนธรรมแฟน และชนชั้นใหม่. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 268 หน้า.

3.2 งานวิจัย    
1. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2564). พัฒนาการของศาสตร์สังคมวิทยา. ใน ชาญ พนารัตน์(บก.). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ().
2. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2560). โครงวิจัย การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน: การเคลื่อนย้ายข้ามแดน ระหว่างประเทศไทยกับเพื่อนบ้านอาเซียน. กรุงเทพฯ: เครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). ().

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2565). “รายงานจากการสำรวจภาคสนาม กลุ่มชาติพันธุ์จากยูนนานในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า: อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 34 (2). หน้า 102-134.
2. เสาวรีย์ ชัยวรรณ และ วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2562). “คน/ช้าง/การเคลื่อนย้าย และชีวิตเร่ร่อนในโลกสมัยใหม่.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 31 (1). หน้า 10-45.
3. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2561). “เจดีย์สี่ครูบา: ศาสนสถานและความทรงจำทางสังคมในล้านนา.” วารสารมานุษยวิทยา, 1 (1). หน้า 119-158.
4. Pichet Saiphan, วสันต์ ปัญญาแก้ว, ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี, เชษฐา พวงหัตถ์, นิติ ภวัครพันธุ์ และ เกษม เพ็ญภินันท์. (2553). “โลกตะวันตก โลกที่สามและแบบว่า ร่วมสมัย : เกาะติดสถานการณ์ ทิศทาง และแนวโน้มของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา.” วารสารธรรมศาสตร์, 29 (1). หน้า 182-211.
5. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2552). “เฌรพระข้ามชาติ : ขบวนการรื้อฟื้นและสืบสานพระศาสนาสของชาวลื้อ สิบสองปันนา.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 0 (พิเศษ). หน้า 128-159.
6. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2552). “ชาร์ลส์ เอฟ คายส์ กับทิศทางใหม่ในไทศึกษา.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 19 (1). หน้า 230-275.
7. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2550). “บทบรรณาธิการ : ศาสนา ชาติพันธุ์ และการพัฒนาระดับภูมิภาคในเขตลุ่มน้ำโขง.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 19 (2). หน้า 7-21.
8. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2550). “เสียงไตลื้อ : การเดินทาง/เคลื่อนที่ของพลเมืองลื้อสิบสองปันนา.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 19 (2). หน้า 192-233.
9. วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2548). “อำนาจรัฐ กับ การเดินทาง/เคลื่อนที่ของพลเมืองลื้อ.” วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 17 (1). หน้า 2548.
10. Wasan Panyagaew. (2018). “The Two Khruba Lue: Buddhist Place Makers of the Upper Mekong.” The Journal of the Siam Society, 106 (1). หน้า 279-294.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Panyagaew, W.. (2013). "Remembering with Respect: History, Social Memory and the Cross-Border Journeys of a Charismatic Lue Monk". Asia Pacific Journal of Anthropology, 14 (1). Page 23-40.
2. Panyagaew, W.. (2010). "Cross-border journeys and minority monks: The making of Buddhist places in southwest China". Asian Ethnicity, 11 (1). Page 43-59.
3. Panyagaew, W.. (2007). "Re-Emplacing Homeland: Mobility, Locality, a Returned Exile and a Thai Restaurant in Southwest China". Asia Pacific Journal of Anthropology, 8 (2). Page 117-135.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น