ระบบบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(Graduate Management System Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University)

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด็อกเตอร์
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย 2548
ปริญญาโท ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2538
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย 2534

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ณิชารัศม์ รัศมีกุลวิทย์ และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2566). ““Are you free?”: การถ่ายโอนทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในวัจนกรรมการขอร้องของผู้เรียนชาวไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ.” ภาษาและภาษาศาสตร์, 41 (2). หน้า 88-117.
2. วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2564). “กลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจในการให้คำแนะนำในภาษาไทย: การศึกษาตามแนวคิดวัจนปฏิบัติศาสตร์แนวปลอดปล่อย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 43 (2). หน้า 76-93.
3. ลัญระวี ปฎิพิมพาคม และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2564). “กลวิธีกล่าวขอโทษของผู้เรียนภาษาไทยชาวญี่ปุ่น.” วารสารสมาคมนักวิจัย, 26 (4). หน้า 161-175.
4. จิดาภา ตั้งดิลกธนากุล, คเชนทร์ ตัญศิริ และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2563). “การขยายหน้าที่เชิงไวยากรณ์ของคำว่า เวลา ในภาษาไทย.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 20 (1). หน้า 141-164.
5. ปิยะวดี คำสุวรรณ, คเชนทร์ ตัญศิริ และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2562). “การศึกษาคำว่า “ตาม” ในภาษาไทย.” วรรณวิทัศน์, 19 (2). หน้า 179-207.
6. อุมาภรณ์ สังขมาน. (2562). “การจำแนกทางความหมายของชื่อผักพื้นบ้านในภาษาไทลื้อ.” วารสารจีนศึกษา, 12 (1). หน้า 91-112.
7. สิทธินี ธรรมชัย, พุทธชาติ โปธิบาล และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2561). “การศึกษาอุปลักษณ์มโนทัศน์ของ [nun] ตา [kwi] หู [kho] จมูกและ [ ip] ปาก.” วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6 (2). หน้า 94-109.
8. กรกฤช มีมงคล, พุทธชาติ โปธิบาล และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2561). “การศึกษาข้อความในคลังข้อมูลการเกษตรสำหรับประยุกต์ใช้กับการประมวลผลคำตอบด้านการเกษตรของระบบถาม-ตอบอัตโนมัติ.” วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 24 (2). หน้า 243-253.
9. พัฒนะชัย พัชรเดช และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2559). “กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในเดี่ยวไมโครโฟนของอุดม แต้พานิช.” วารสารวจนะ, 4 (2). หน้า 22-44.
10. ฐิติกาญจน์ ใจไมตรี และ อุมาภรณ์ สังขมาน. (2559). “การศึกษาการแปรคำศัพท์ ในภาษาพวนบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี.” วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 24 (45). หน้า 245-262.
11. อุมาภรณ์ สังขมาน. (2559). “กลวิธีทางภาษาในวัจนกรรมเสียดสี เพื่อสร้างความตลกขบขันของไทย.” วารสารมนุษยศาสตร์, 23 (1). หน้า 154-178.
12. รัศมี รักงาม 1 , อุมาภรณ์ สังขมาน 2. (2559). “กลวิธีการปลอบโยนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดของพยาบาล.” Kasetsart Journal of Social Sciences, 37 (1). หน้า 111-120.
13. อุมาภรณ์ สังขมาน. (2554). “การศึกษาความหมายของชื่อกระเจี๊ยบ.” วารสารมนุษยศาสตร์, 18 (2). หน้า 127-140.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Ruckngam, R. & Sungkaman, U. (2016). "Nurses’ strategies for consoling patients undergoing chemotherapy". Kasetsart Journal of Social Sciences, 37 (1). Page 111 - 120.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    
1. อุมาภรณ์ สังขมาน. (2555). การปนภาษาอังกฤษในเพลง K-POP. ในเบิกฟ้าเกาหลี หนังสือรวมบทความวิชาการ ในการสัมมนาระดับชาติ เกาหลีศึกษา ครั้งที่ 2, จัดโดยกรุงเทพฯ ประเทศไทย เมื่อวันที่16 กรกฎาคม 2555.
2. อุมาภรณ์ สังขมาน. (2555). พยัญชนะกักเกร็งและพยัญชนะกักคลายในภาษาเกาหลีของผู้เรียนคนไทย. ในหนังสือ รวมบทความแสงแห่งพลวัตเกาหลี ในการประชุมวิชาการระดับชาติเกาหลีศึกษา ครั้งที่ 3, จัดโดยกรุงเทพฯ ประเทศไทย เมื่อวันที่12 กรกฎาคม 2556.

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2567     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :

Link ที่เกี่ยวข้อง :  GS-FROM  REG  REQ เว็บไซต์คณะ บัณฑิตวิทยาลัย  สำนักบริหาร สำนักนวัตกรรม  ห้องสมุด ศูนย์คอมฯ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
     กษณะ ปัญญาคำ อีเมล์ : kasapa@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น