ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ : สอบ ป.โท เกณฑ์ 58 และป.โท-เอก เกณฑ์ 65 ผ่านความเห็นชอบ กก.บศ. ครั้งที่ 1/2568, 7 ม.ค.68
1. ตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (สารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2557
ปริญญาโท ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2550
ปริญญาตรี ศศ.บ. (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย 2543

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ภคมน เจริญสุข และวรรษพร อารยะพันธ์. (2567). “การวิเคราะห์และจัดกลุ่มความรู้ภูมิปัญญาด้านการแพทย์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา.” Journal of Information and Learning, 35 (1). หน้า 40-55.
2. สุพิฌา เนียมทรัพย์ และวรรษพร อารยะพันธ์. (2567). “การวิเคราะห์และจัดกลุ่มความรู้การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา.” Journal of Information and Learning, 35 (2). หน้า 156-169.
3. กนก สุขมณี และวรรษพร อารยะพันธ์. (2566). “การวิเคราะห์องค์ความรู้วัดและวิหารล้านนาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.” Journal of Information and Learning, 34 (3). หน้า 118-131.
4. แพรวนภา ศรีวรรณตัน และวรรษพร อารยะพันธ์. (2565). “การจัดเก็บและค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศล้านนาของสถาบันบริการสารสนเทศในเขตภาคเหนือตอนบน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 10 (1). หน้า 42-66.
5. อรวรา ใสคำ และวรรษพร อารยะพันธ์. (2565). “สภาพการเข้าถึงและค้นคืนสารสนเทศด้านผ้ากลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 10 (2). หน้า 147-170.
6. นริศรา พรมศิริ และวรรษพร อารยะพันธ์. (2564). “การวิเคราะห์และการจัดหมวดหมู่ความรู้ค่าวล้านนา.” มนุษยศาสตร์สาร, 22 (2). หน้า 115-136.
7. ภิญญาพัชญ์ ญานะคำ และวรรษพร อารยะพันธ์. (2564). “ความรู้ความเข้าใจและปัญหาการใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย.” มนุษยศาสตร์สาร, 22 (1). หน้า 181-203.
8. วรรษพร อารยะพันธ์. (2563). “นโยบายด้านทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย.” มนุษยศาสตร์สาร, 21 (2). หน้า 176-197.
9. วธูสิริ ใจกลาง, วรรษพร อารยะพันธ์ และนันทวรรณ ม่วงใหญ่. (2562). “ความต้องการและการใช้แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ของชาวมอญ ในจังหวัดลำพูน.” มนุษยศาสตร์สาร, 20 (2). หน้า 101-132.
10. วรรษพร อารยะพันธ์ และพัฑรา พนมมิตร. (2562). “การพัฒนาออนโทโลยีความรู้ด้านผ้าล้านนา.” มนุษยศาสตร์สาร, 20 (2). หน้า 133-170.
11. วรรษพร อารยะพันธ์. (2562). “ศัพท์สัมพันธ์กลุ่มชาติพันธุ์ไทในล้านนา.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 12 (2). หน้า 95-114.
12. จามจุรี จิโนสวัสดิ์ และวรรษพร อารยะพันธ์. (2561). “สภาพการจัดการสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย.” วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 11 (1). หน้า 1435-1449.
13. ณภัทรฉิมพาล, ทัศนา สลัดยะนันท์, วรรษพร อารยะพันธ์. (2561). “การกำหนดหัวเรื่องภาษาไทยด้านวัฒนธรรมล้านนา.” วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 11 (1). หน้า 1-15.
14. สุคนธ์ทิพย์ จันทะลุน และวรรษพร อารยะพันธ์. (2561). “การใช้หนังสือหายากของผู้ใช้บริการหอสมุดแห่งชาติในประเทศไทย.” วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 11 (1). หน้า 1136-1156.
15. พัฑรา พนมมิตร, วรรษพร อารยะพันธ์ และพิเชษฎ์ จุลรอด. (2560). “การค้นคืนและเข้าถึงความรู้ด้านผ้าล้านนาของแหล่งสารสนเทศด้านผ้าล้านนา ในเขตภาคเหนือตอนบน.” วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 10 (3). หน้า 1545-1559.
16. วรรษพร อารยะพันธ์, ลำปาง แม่นมาตย์, มาลี กาบมาลา และกิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย 2. (2558). “สภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดการความรู้และสารสนเทศด้านทรัพย์สินทางปัญญาของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย.” วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 15 (2). หน้า 21-38.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Leenaraj, B. , Arayaphan, W. , Intawong, K. & Puritat, K. (2023). "A gamified mobile application for first-year student orientation to promote library services". Journal of Librarianship and Information Science, 55 (1). Page 137–150.
2. Arayaphan, W. , Intawong, K. & Puritat, K. (2022). "Digitalization of ancient fabric using virtual reality technology at the Wieng Yong House Museum: The FabricVR project". Digital Applications in Archaeology and Cultural Heritage, 26 (e00233). Page -.
3. Arayaphan, W. , Sirasakmol, O. , Nadee, W. & Puritat, K. (2022). "Enhancing Intrinsic Motivation of Librarian Students using Virtual Reality for Education in the Context of Culture Heritage Museums". TEM JournalThis link is disabled., 11 (2). Page 620–630.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2568     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator