ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University
ระดับ | ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) | ชื่อสถาบัน, ประเทศ | ปี พ.ศ. ที่จบ |
---|---|---|---|
ปริญญาเอก | Ph.D., Policy Development and Program Evaluation | Vanderbilt University U.S.A | 0 |
ปริญญาโท | M.P.P., Public Policy | Vanderbilt University U.S.A | 0 |
ปริญญาโท | M.A., Economics (International Program) | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไทย | 0 |
ปริญญาตรี | B.Sc., Public Health | มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย | 0 |
1. | ลัญญณัฐ ภาตะนันท์ และอัญชนา ณ ระนอง. (2566). “รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างทุนทางสังคม ทุนทางปัญญาและการจัดการความรู้สู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ในองค์การมหาชน.” วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 19 (1). หน้า 213-226. |
2. | อัญชนา ณ ระนอง และศตายุ ภัทรกิจกุศล. (2564). “การศึกษาธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสาขาสปาในกลุ่มวิสาหกิจขนาดกล่างและขนาดย่อม (SMEs).” วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 10 (1). หน้า 157-178. |
3. | วิศรุตา ทองแกมแก้ว, อัญชนา ณ ระนอง และ อัธกฤตย์ เทพมงคล. (2564). “ปัจจัยที่มีผลต่อรายจ่ายด้านการศึกษาในประเทศที่มีรายได้ต่ำและประเทศที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างต่ำ.” วารสารปาริชาต, 34 (1). หน้า 176-191. |
4. | ศตายุ ภัทรกิจกุศล และ อัญชนา ณ ระนอง. (2564). “ปัจจัยสถาบันของประเทศไทยที่มีอิทธิต่อเจตนาเจริญพันธ์ของสตรีเจนวายกลุ่มรายได้ปานกลาง.” วารสารประชากรศาสตร์, 37 (1). หน้า 1-26. |
5. | ปนัสย์ รัฐกิจวิจารณ์ ณ นคร และ อัญชนา ณ ระนอง. (2563). “การทดสอบตัวแปรบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในจังหวัดกรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ และภูเก็ต.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 24 (2). หน้า 37-56. |
6. | ศตายุ ภัทรกิจกุศล และอัญชนา ณ ระนอง. (2563). “การศึกษาปัจจัยด้านนโยบายเพื่อการสนับสนุนการมีบุตรที่มีผลต่อจำนวนบุตรที่สตรีเจนวายกลุ่มรายได้ปานกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลวางแผนว่าจะมี.” วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 18 (2). หน้า 1-25. |
7. | อัญชนา ณ ระนอง. (2562). “หญิงขายบริการทางเพศต่างชาติในประเทศไทย: การสำรวจและนัยเชิงนโยบายด้านสุขภาพ.” วารสารการบริหารปกครอง, 8 (2). หน้า 1-24. |
8. | อัญชนา ณ ระนอง. (2562). “การศึกษาการติดตามข้อมูลข่าวสาร ระบบการแจ้งเตือน และการแก้ไขปัญหาในภาวะวิกฤติน้ำท่วมนอกเขตกรุงเทพมหานคร.” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 16 (2). หน้า 493-502. |
9. | สุริยัน บุญแท้ และอัญชนา ณ ระนอง. (2561). “มาตรการและกระบวนการในการจัดการปัญหาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเครือข่ายในกลุ่มจังหวัดที่มีความเสี่ยงสูง: สำเร็จหรือล้มเหลว.” วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 7 (2). หน้า -. |
10. | พิสมัย ศรีเนตร และอัญชนา ณ ระนอง. (2561). “ทุนชุมชนกับความสามารถของชุมชนในการจัดการภัยพิบัติน้ำท่วม.” วารสารการบริหารปกครอง, 7 (1). หน้า 522-553. |
11. | อัญชนา ณ ระนอง. (2559). “การเกษตรที่ลดการพึ่งพิงสารเคมี : กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรบางกลุ่มในจังหวัดจันทบุรีและปทุมธานี.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 23 (2). หน้า 93-118. |
12. | อัญชนา ณ ระนอง และ นริศรา จริยะพันธุ์. (2556). “การศึกษาการจัดการเรียนการสอนและประสิทธิผลของโรงเรียนทางเลือก.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 20 (1). หน้า 94-112. |
13. | อัญชนา ณ ระนอง. (2554). “ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจกับการเป็นศูนย์กลางบริการด้านสุขภาพของประเทศไทย.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 51 (1). หน้า 47-81. |
14. | อัญชนา ณ ระนอง. (2554). “ผลกระทบของการถ่ายทอดฟุตบอลโลกต่อความสูญเสียด้านผลิตภาพการทำงาน และต่อปริมาณการพนันในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 18 (2). หน้า 11-46. |
15. | อัญชนา ณ ระนอง. (2551). “การบริโภคแอกอฮอล์กับความยากจน.” NIDA Development Journal, 48 (3). หน้า 89-154. |
16. | อัญชนา ณ ระนอง. (2550). “ระบบข้อมูลอุบัติเหตุจราจรในประเทศไทย: อาณาจักรแห่งความไม่รู้.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 47 (3). หน้า 83-118. |
17. | อัญชนา ณ ระนอง. (2550). “บทบาทของพื้นที่ประชาสังคม (Civil Space) ในการเสริมสร้างพลังประชาชนผ่านการมีส่วนร่วม.” วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 5 (1). หน้า 11-55. |
18. | อัญชนา ณ ระนอง. (2550). “Voice of the Poor : Can Anyone Hear Us?.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 14 (2). หน้า 199-202. |
19. | อัญชนา ณ ระนอง. (2549). “แนะนำหนังสือด้านการบริหาร.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 13 (2). หน้า 153-155. |
20. | อัญชนา ณ ระนอง และ วิโรจน์ ณ ระนอง. (2545). “การสร้างกลไกป้องกันการทุจริตในกระทรวงสาธารณสุข:กรณีศึกษาการปฏิรูประบบการเงินการคลังโครงการสวัสดิการประชาชนด้านการรักษาพยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อยและผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล (สปร.).” วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 1 (1). หน้า 7-33. |
21. | อัญชนา ณ ระนอง. (2541). “แนวความคิดและวิธีวัดความยากจนในประเทศไทย.” วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์, 16 (3). หน้า 51-67. |
1. | Ziauddin Ahmed and Anchana NaRanong. (2023). "The Effects of ICT/e-Government on Migrant Workers’ Remittance Inflows in Bangladesh: An Empirical Study". Journal of Sustainable Development, 16 (1). Page 53-76. |
2. | Petsuwan, S. & Naranong, A. (2023). "Role of the State in Dealing With Fake News on Social Media". Journal of Policy Studies, 38 (3). Page 41–50. |
3. | Hamidou Issaka Diori and Anchana NaRanong. (2022). "Multiparty democracy, social cohesion, and human development in Sub-Saharan Africa". Journal of Sustainable Development, 16 (4). Page 22-22. |
4. | Borongan, G. & NaRanong, A. (2022). "Factors in enhancing environmental governance for marine plastic litter abatement in Manila, the Philippines: A combined structural equation modeling and DPSIR framework". Marine Pollution Bulletin, 181 (-). Page Article number 113920. |
5. | Borongan, G. , Naranong, A.. (2022). "Practical Challenges and Opportunities for Marine Plastic Litter Reduction in Manila: A Structural Equation Modeling". Sustainability (Switzerland), 14 (10). Page 6128. |
6. | Do, T.D. , NaRanong, A.. (2019). "Livelihood and environmental impacts of payments for forest environmental services: A case study in Vietnam". Sustainability (Switzerland), 11 (15). Page 4165. |
7. | Anchana NaRanong. (2018). "Determinants of Health Coverage Awareness for Poor Beneficiaries of the Thai Universal Health Coverage Scheme". Asian Social Science, 14 (9). Page 98-106. |
8. | Anchana NaRanong, Viroj NaRanong . (2016). "2011". Bulletin of the World Health Organization, 89 (5). Page 336-44. |
9. | Danière, A. , Drummond, L. , NaRanong, A. , Tran, V.A.T.. (2016). "Sustainable Flows: Water Management and Municipal Flexibility in Bangkok and Hanoi". Journal of Environment and Development, 25 (1). Page 47–72. |
10. | Naranong, A. & Naranong, V. (2011). "The effects of medical tourism: Thailand's experience | Les effets du tourisme médical: l'expérience thaïlandaise". Bulletin of the World Health Organization, 89 (5). Page 336–344. |
11. | Daniere, A. , Takahashi, L. , NaRanong, A. & Lan, V.T.N. (2005). "Social capital and urban environments in Southeast Asia: Lessons from settlements in Bangkok and Ho Chi Minh City". International Development Planning Review, 27 (1). Page 21–58. |
12. | Daniere, A. , Takahashi, L.M. & Naranong, A. (2002). "Social capital, networks, and community environments in Bangkok, Thailand". Growth and Change, 33 (4). Page 453–484. |
1. | สุริยัน บุญแท้ และ อัญชนา ณ ระนอง. (2560). กลไกการบริหารภาครัฐในการจัดการปัญหาแอลกอฮอล์สู่วิถีความพอเพียง. ในเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารการพัฒนา: จากปรัชญาสู่การปฏิบัติ, จัดโดยสถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์ เมื่อวันที่-. |
1. | Anchana NaRanong. (2009). Promoting Medical Tourism in Thailand: A Public Dilemma. In Conference Proceedings of the International Academy of Business and Public Administration Disciplines, During April 23-26 2009. -, Dallas, Texas. |
ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319 Facebook : งานบัณฑิต
อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th
© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น