ระบบประวัติผลงานอาจารย์ และบริการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Faculty Profiles and Student Service System of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

   Back    PDF-Full CV    PDF-CV 5 ปี    Word-Full CV    Word-CV 5 ปี
คุณสมบัติ : สอบ ป.โท เกณฑ์ 58 และป.โท-เอก เกณฑ์ 65 ผ่านความเห็นชอบ กก.บศ. ครั้งที่ 1/2568, 7 ม.ค.68
1. ตำแหน่งทางวิชาการ อ.ดร.
2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Second Language Acquisition and Teacher Education) University of Illinois at Urbana-Champaign U.S.A 2548
ปริญญาโท MA. (TESL-Teaching English as a Second Language) University of Illinois at Urbana-Champaign U.S.A 2542
ปริญญาตรี อ.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2539

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 หนังสือตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน    

3.2 งานวิจัย    

3.3 บทความทางวิชาการ    
   3.3.1 ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ    
1. ศาสตรา มาพร และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2564). “ภาษาอังกฤษในฐานะภาษากลางของการคมนาคมทางอากาศ : บทความปริทัศน์.” Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia, 27 (2). หน้า 109-126.
2. นิตย์รดี สารจันทร์ และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2561). “การพัฒนาความสามารถในการเขียนเล่าเรื่องภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการสอนเขียนของเฮวินส์.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37 (3). หน้า 40-48.
3. สุภาพร สีสังข์ และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2559). “กลวิธีการให้ข้อมูลย้อนกลับของครูที่มีต่อการแก้ไขงานเขียนของผู้เรียน : กรณีศึกษาวิชาการเขียนของวิชาเอกภาษาอังกฤษ.” วารสารช่อพะยอม, 27 (1). หน้า 73–89.
4. กฤษณ์ ศรทัตต์, พิลานุช ภูษาวิโศธน์ และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2559). “การพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องต้นของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยใช้เทคนิคการช่วยเสริมต่อการเรียนรู้ของไวก็อตสกี.” วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 3 (3). หน้า 113-128.
5. อัจฉริยาพร รมรัตน์, พิลานุช ภูษาวิโศธน์ และพิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2557). “การพัฒนาความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางร่วมกับกิจกรรมตามแบบผสมผสาน.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 9 (2). หน้า 347-356.
6. ดาวธีรัตน์ พลขยัน, พิลานุช ภูษาวิโศธน์ และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2557). “กิจกรรมการอ่านโดยการใช้ชิ้นงานการอ่านเพื่อการสื่อสารและเทคนิคการตั้งคำถามในการส่งเสริมการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 9 (2). หน้า 109-121.
7. กันยารัตน์ ทองล้วน, พิลานุช ภูษาวิโศธน์ และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์ . (2557). “การใช้กิจกรรม Buzz Groups เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้คำศัพท์วิชาการ (AWL) ในหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.” วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 11 (1). หน้า 108-117.
8. ทรงพล อุทัยสาร์, อุดร หวานอารมณ์ และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2556). “คำศัพท์ในแบบเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับการท่องเที่ยว กรณีความหลากหลาย ความถี่ และปริมาณคำศัพท์.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 4 (8). หน้า 145–158.
9. Pariyaporn Setjun, Pimyupa Praphan & Intisarn Chaiyasuk. (2556). “Improving Sixth Grade Students’ Speaking Skill Through Information Gap with Different Task Types and Complexity.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 7 (2). หน้า 43-53.
10. อุรา ทูลประโคน, สมนึก ภัททิยธนี และ พิมพ์ยุพา ประพันธ์. (2556). “การพัฒนาแบบทดสอบโมดิฟายด์โคลซต่างรูปแบบ เพื่อวัดความเข้าใจการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3.” วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 19 (2). หน้า 225-233.
11. ทิพยดา สาระชาติ, กัณติภณ สำแดงเดช และ พิมพ์ยุพา วัดเข้าหลาม. (2555). “The Developing of Learning Lesson Program in English Pronunciation for the First Year Vocational College Students through Adaptation of English Activities Proposed by the British Council.” วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9 (1). หน้า 162-171.
12. Pattanon Phonhan Pimyupa Watkhaolarm Praphan. (2012). “An Evaluation of My World Textbooks Regarding the EFL Teachers’ Perceptions and Classroom Applications : A Case Study of Thai Teachers.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6 (2). หน้า 17-28.

   3.3.2 ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ    
1. Praphan, P.W. , Praphan, K. (2023). " AI technologies in the ESL/EFL writing classroom: The villain or the champion?". Journal of Second Language Writing, 62 (-). Page 1-2.
2. Phonhan, P., Phusawisot, P. & Praphan, P. (2016). "The Effects of Theme - Based Instruction for Reducing Thai Undergraduate Students’ Descriptive Writing Apprehension". Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts, 16 (2). Page 73-92.
3. Watkhaolarm, P. (2005). " Think in Thai, write in English: Thainess in Thai English literature". World Englishes, 24 (2). Page 145–158.

   3.3.3 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ    

   3.3.4 ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)    

4. ประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษา     2568     ปี
5. ภาระงานสอน

6. ความเชียวชาญ :


ช่องทางการติดต่อ : โทรศัพท์ : 043-202319  Facebook : งานบัณฑิต
     อนงค์นาถ โยคุณ อีเมล์ : yanong@kku.ac.th
     สกุลรัตน์ คำพิละ อีเมล์ : sakulratmo@kku.ac.th

© สงวนลิขสิทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

For Administrator